หน้าเว็บ

กระผม นายอัตถ์ชัย ภู่วนิช เลขที่ 213 รุ่น 19





บทที่ 8 เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์และการจัดการที่เหมาะสม



การจัดการ HR เชิงกลยุทธ์



การจัดการแบบมีกลยุทธ์เป็นกระบวนการใช้ความสามารถทางความคิดและการปฏิบัติเพื่อจัดการเหตุการณ์ที่จะอุบัติขึ้นในอนาคตได้ดี หมายความว่าการจัดการเชิงกลยุทธ์ขององค์กรเกิดขึ้นด้วยหวังว่าต้องท􀁬ำให้องค์กรมีก􀁬ำไรเติบโตอย่างต่อเนื่อง และยังต้องเป็นที่รู้จักของผู้คนในสังคมอีกด้วย และจะท􀁬ำให้ง่ายต่อการขยายฐานลูกค้า ดังนั้น พนักงานด้านทรัพยากรมนุษย์ให้ความส􀁬ำคัญกับการบริหารงาน



ตามหน้าที่ที่มีการออกแบบไว้แล้ว ซึ่งงานส่วนใหญ่มีลักษณะคงที่ (static duties) จะกลายเป็นจุดอ่อนในเวทีการแข่งขัน แม้ว่าการท􀁬ำงานแบบคงที่หรือซ􀁬้ำๆ กันจะก่อให้เกิดความช􀁬ำนาญ (expertise) ก็ตาม ผลเสียที่ตามมาคือจะไม่สามารถพัฒนาก􀁬ำลังคนขององค์กรให้มีความสามารถปฏิบัติงานเพื่อจัดการกับเหตุอุบัติในอนาคตได้การจะจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคตได้ดี ข้อมูลด้านบุคลากรจะต้องมีความครบถ้วนถูกต้องและเป็นปัจจุบัน (real time) ในขณะเดยี วกนั พนกั งานด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ต้องมคี วามร้คู วามเข้าใจในธรุ กจิ ขององค์กร เข้าใจสภาพธรุ กจิ ในระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ และความเป็นไปของเศรษฐกิจธุรกิจ รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้าทางวิทยาการเทคโนโลยี



นวัตกรรม (innovation) การแข่งขันในเวทีโลก โอกาสในการเลือกใช้สินค้าและบริการของลูกค้า ทางเลือกของลูกค้าในการใช้ผลิตภัณฑ์อื่นทดแทน ความต้องการของผ้มู สี ่วนได้เสยี ฯลฯ ปัจจยัดังกล่าวยังส่งผลให้คิดต่อว่าต้องพัฒนาพนักงานอย่างไรจึงจะท􀁬ำให้องค์กรเติบโตต่อไปได้การจัดการก􀁬ำลังคนอย่างมีกลยุทธ์ในเบื้องต้นต้องสร้างวัฒนธรรมหลักขององค์กรให้ได้ และวัฒนธรรมนั้นควรแสดงถึงความได้เปรียบในการแข่งขัน เช่น มุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อยู่



เสมอ สร้างสรรค์บริการใหม่ ปรับปรุงกระบวนการท􀁬ำงานอย่างต่อเนื่อง แสวงหาตลาดใหม่ สร้างความสะดวกสบายให้แก่ลูกค้าบรู ณาการความร้แู ละประสบการณ์ สร้างความประทบั ใจแก่ลกู ค้าฯลฯ จะเห็นว่าวัฒนธรรมดังกล่าวเป็นการพิจารณาภายใต้แนวโน้มธุรกิจและแผนยุทธศาสตร์ทางธุรกิจ การที่องค์กรจะสร้างวัฒนธรรมที่ดีได้ พนักงานจะต้องมีความคิดก้าวหน้ายอมรับการเปลี่ยนแปลงโดยเข้าใจการประกอบธุรกิจที่มุ่งหมายเอาก􀁬ำไร เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับองค์กรบนพื้นฐานความพึงพอใจของลูกค้าวัฒนธรรมพนักงานด้านทรัพยากรมนุษย์ที่มีความคิดเชิงกลยุทธ์ ส่วนใหญ่จะมีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์พัฒนาบุคลากรขององค์กรได้อย่างแหลมคม ดังนั้นคุณสมบัติของพนักงานด้าน



ทรัพยากรมนษุ ย์ต้องมคี วามร้คู วามเข้าใจระบบเศรษฐกจิ ธรุ กจิ ของประเทศ รู้ถึงแนวโน้มธุรกิจ เข้าใจแผนกลยุทธ์องค์กร แล้วจึงวางแผนพัฒนาบุคลากรเพื่อให้สามารถสนองตอบต่อแผนธุรกิจขององค์กร อย่างไรก็ดีแผนในการสร้างวัฒนธรรมที่เข้มแข็งขององค์กรเป็นกลยุทธ์ส􀁬ำคัญที่องค์กรต้องสร้างขึ้น ได้แก่ การชอบคิดค้นสิ่งใหม่ การท􀁬ำงานต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ความมีมาตรฐานคือหัวใจของการท􀁬ำงาน บริการคือน􀁬้ำใจ ฯลฯ วัฒนธรรมองค์กรจะกลายเป็นพลังขับเคลื่อนการด􀁬ำเนินงานขององค์กรได้เป็นอย่างดีประเด็นค􀁬ำถามที่ช่วยชี้แนะให้การวางแผนกลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความแหลมคม และสามารถน􀁬ำไปสู่การ



ปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธิผลได้ มีดังนี้



1. ความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจธุรกิจของโลกและประเทศเป็นอย่างไร



2. ตลาดธุรกิจขององค์กรมีแนวโน้มอย่างไร



3. คู่แข่งธุรกิจขององค์กรมีการพัฒนาอย่างไร ควรศึกษาคู่แข่งในระดับต้นๆ 3-5 องค์กร



4. แผนกลยุทธ์ของคู่แข่งเป็นอย่างไร ให้มองไปข้างหน้า5-10 ปี



5. วัฒนธรรมขององค์กรมีจุดแข็งจุดอ่อนอะไรและอย่างไรจดุ แขง็ ทมี่ อี ย่จู ะช่วงชงิ โอกาสหรอื กำ􀁬 จดั อปุ สรรคได้หรอื ไม่อย่างไร ในกรณีที่มีจุดอ่อนจะต้องก􀁬ำจัดจุดอ่อนนั้นอย่างไร



6. ก􀁬ำหนดนโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และวางแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยมีเป้าหมายที่



จะสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันกล่าวโดยสรุป พนักงานด้านทรัพยากรมนุษย์ที่จะประสบผลสำ􀁬 เรจ็ ในยคุ โลกาภวิ ตั น์ต้องมคี วามคดิ และรอบร้ใู นความเป็นไปของโลกธรุ กจิ ไม่เฉพาะภายในประเทศเท่านนั้ ต้องร้ทู นั ต่อกระแสโลกาภิวัตน์ด้วย โดยต้องมีกลยุทธ์ในการจัดการ ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถพัฒนาบุคลากรขององค์กรให้เป็นก􀁬ำลังส􀁬ำคัญในการน􀁬ำองค์กรให้อยู่รอดท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ได้







นิรมิต เทียมทัน. (2549). ยุทธศิลป์การบริหารจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: พิมพ์ตะวัน.



ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2551). การพัฒนาองค์กรเพื่อการเปลี่ยนแปลง (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: พิมพ์ตะวัน.



ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2551). การจัดการทรัพยากรมนุษย์



บทที่ 7 การพัฒนาองค์การไปสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน



แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน



การพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ Sustainable Development คือกระแสที่โลกในปัจจุบันให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และกลไกการตลาด ก่อให้เกิดการเติบโต การผลิต การบริโภคที่เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม แนวทางพัฒนาแบบเก่าซึ่งไม่คานึงถึงข้อจากัดในการพัฒนา ซึ่งจะส่งผลกระทบในทางลบต่ออนาคต ดังนั้น แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) จึงเป็นแนวคิดในการแก้ปัญหานี้



แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนเริ่มต้นมาจากการมุ่งหวังให้คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Individual Social Responsibility) จนกระทั่งการเป็นองค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) แต่การดาเนินการไม่ใช่เพียงแค่โครงการหรือกิจกรรมเล็ก ๆ เท่านั้น เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดาเนินการเรื่องดังกล่าว จึงเป็นที่มาของแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน



มุมมองของการพัฒนาที่ยั่งยืน



การพัฒนาที่ยั่งยืนได้ให้ความสาคัญในการรักษาสมดุลทั้งสิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และเศรษฐกิจ (Economic) ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาที่ยั่งยืนจึงให้ความสาคัญในมุมมอง 4 มิติ ได้แก่



1)ชุมชน หรือ Community คือ การสนับสนุน ส่งเสริม สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับภาค ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ โดยการดาเนินกิจกรรมเหล่านี้จะเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร



2) สิ่งแวดล้อม หรือ Environment คือ การให้ความสาคัญต่อการใช้ทรัพยากร ไม่ให้เกิดการปล่อยของ เสียที่ส่งผลกระทบต่อความกังวลของชุมชนและผู้รับบริการ รวมถึง การสร้างมูลค่าให้เกิดขึ้นต่อความสำเร็จในอนาคต โดยมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยที่สุด



3) ตลาด หรือ Marketplace คือ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ส่งมอบบริการหรือวัตถุดิบ ซึ่งจะทาให้รับประกันได้ถึงความน่าเชื่อถือ ความมั่นคง และคุณภาพในการจัดหาวัตถุดิบหรือปัจจัยนาเข้าในการบริการ ดังนั้น การสร้างความยั่งยืนทางการตลาดของผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร จึงจาเป็นต้องมีความเข้าใจถึงความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการทั้งในปัจจุบันและอนาคต



4) สถานที่ทางาน หรือ Workplace คือ การสร้างความสุข ความปลอดภัย และแรงจูงใจให้กับบุคลากรในองค์กร เพื่อให้สามารถสร้างประสิทธิภาพและผลิตภาพในการทางานให้กับองค์กร ดังนั้น การพัฒนาที่ยั่งยืนในมุมมองด้าน Workplace คือ การต้องสรรหาคนเก่ง คนดีให้เข้ามาในองค์กร รวมถึง การรักษา และสร้างแรงกระตุ้นให้บุคลากรเหล่านั้นอยู่กับองค์กรตลอดไป



ที่มา : อภิจิตตรา (สำนักนวัตกรรมฯ)





บบที่ 6 วิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อการบริหารจัดการ (อาเซียน )



1)แนวคิดการวิเคราะห์ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อกระทรวงมหาดไทย



2) สถานะกระทรวงมหาดไทยต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน



2.1)อำนาจหน้าที่กระทรวงมหาดไทยกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมือง และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทย



2.2)พันธกิจ



(1) กำกับดูแล จัดระบบการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข



(2) รักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายใน และเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับต่างประเทศ



(3) อำนวยความเป็นธรรมและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในระดับพื้นที่



(4) ส่งเสริมการพัฒนาเมือง โครงสร้างกายภาพ การใช้ประโยชน์ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม



(5) เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง



(6) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย



(7) ให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานเพื่อการบริหารและพัฒนาประเทศ



2.3) ข้อคิดเห็นของบุคลากรกระทรวงมหาดไทยต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนข้อมูลจากการสำรวจความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์สถานภาพของกระทรวงเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2555-2558 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นในประเด็นการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะสร้างโอกาสและผลกระทบต่อกระทรวงมหาดไทย



ที่มา : กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี. ประเทศไทยกับอาเซียน. สำนักนายกรัฐมนตรี. 2554
                                                      


                                                                                                      



ไม่มีความคิดเห็น: