หน้าเว็บ

บทที่ 4 สรุปประจำวันพุธ 11 กค 55

001 กวาง  คุณสมบัติของผู้นำ
ความรู้ ต้องมีความรอบรู้
ความริเริ่ม
ความกล้าหาญและเด็ดเดี่ยว
ความมีมนุษยสัมพันธ์
มีความยุติธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต
ความอดทน
ความตื่นตัวแต่ไม่ตื่นตูม
ความจงรักภักดี
ความสงบเสงี่ยม
002 ตั๊ก  ผู้นำที่ดีควรมีลักษณะ
คุณลักษณะทางกาย อายุ ลักษณะท่าทาง ส่วนสูงและน้ำหนัก
ภูมิหลังทางสังคม เช่น สถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม และการศึกษา
สติปัญญาความรู้ความสามารถ เช่น พูดเก่ง ตัดสินใจดี
บุคลิกภาพ เช่น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความระมัดระวัง
ลักษณะที่เกี่ยวกับงาน จะมีความต้องการความสำเร็จ
ลักษณะต่างๆทางสังคม ต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างกระตือรือร้น ให้ความร่วมมือกับบุคคลต่างๆ ดี
003 ริน คุณสมบัติหลักแห่งการเป็นผู้นำ
ผู้นำต้องเป็นคนมีวิสัยทัศน์ มองอนาคต
ผู้นำต้องใฝ่รู้ ต้องไม่ล้าหลัง
ผู้นำต้องเป็นผู้รับใช้ที่ดี
ผู้นำต้องมีวินัยในตนเอง
ผู้นำต้องเป็นผู้มั่นคงในหลักการ
ผู้นำต้องเป็นคนกล้ารับผิดชอบ
ผู้นำต้องเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ผู้นำต้องรู้จักแก้ปัญหาทั้งระยะสั้นและระยะยาว
ผู้นำต้องเป็นผู้มีทัศนคติที่ดี
ผู้นำต้องเป็นผู้ที่มีใจรักในงาน
ผู้นำต้องมีคุณธรรมเชื่อมั่นในหลักคุณธรรม
ผู้นำต้องมีเสน่ห์
ผู้นำต้องทุ่มเท
ผู้นำต้องรู้จักการสื่อสารที่ดี
ผู้นำต้องเป็นคนมีประสิทธิภาพ
ผู้นำต้องกล้าหาญ
ผู้นำต้องมีวิจารณญาณที่ดี
ผู้นำต้องมีความแจ่มชัดในทุกด้าน
ผู้นำต้องเป็นคนมีน้ำใจ
ผู้น้ำต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่ม
ผู้นำต้องเป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อเข้าใจจิตใจคนอื่น
006 ก้อย ลักษณะความเป็นผู้นำที่ประสบความสำเร็จ
มีแรงขับดัน
มีความเชื่อมั่น
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มีความสามารถในการรับรู้
มีความรู้ทางด้านธุรกิจ
มีแรงจูงใจ
มีความยืดหยุ่น
ความซื่อสัตย์และคุณธรรม
014 นุช ท.คุณลักษณะผู้นำ เกี่ยวกับลักษณะเฉพาะตัวของผู้นำ
บุคลิกภาพ ทักษะและลักษณะทางกายภาพ
ฉลาด กระตือรือร้น มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร มีความคิดริเริ่ม
รู้จักปรับตัว ตื่นตัว ทะเยอทะยาน สร้างสรรค์ประโยชน์ ประนีประนอม ลูกน้องพึ่งได้ ทรงอำนาจ มีความสามารถในการทำงาน มั่นใจตนเอง เผชิญหน้ากับเหตุการณ์ ต่างๆ
016 นุช ผู้นำแบบมุ่งงาน และ แบบมุ่งความสัมพันธ์
มุ่งงาน ต้องการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีทัศนคติไม่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา จำกัดเฉพาะเรื่องงาน จะเป็นผู้ให้รางวัลและลงโทษ สนใจเมื่อสมาชิกขยันทำงาน
มุ่งความสัมพันธ์ เน้นความสัมพันธ์ ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เกี่ยวข้องกับสมาชิกในเรื่องต่างๆ เน้นความกลมเกลียวกัน
026 เดียร์ คุณลักษณะเฉพาะตัวของผู้นำ
มีวิสัยทัศน์
ยอมรับความเสี่ยง
ไวต่อความเปลี่ยนแปลง
ไวต่อความต้องการของลูกน้อง
ไม่ยึดติดกับเรื่องเดิมๆ
031 โบ  คุณลักษณะส่วนตัวของผู้นำในการจัดการ
ต้องมีปัญญา
ประสบการณ์กว้างขวาง
อารมณ์เย็น
ผู้นำต้องระลึกว่า งานทั้งหลายสำเร็จได้โดยผู้ปฏิบัติงาน
036 ตู่ ท. เกี่ยวกับลักษณะและคุณสมบัติ ของภาวการณ์เป็นผู้นำ David
มีความเฉลียวฉลาด วิเคราะห์ปัญหา สัมพันธภาพ ระหว่างบุคคล
การบรรลุภาวะทางสังคม ต้องมีความมั่นคงทางอารมณ์
มีการจูงใจภายในและมีแรงขับทางด้านความสำเร็จ
มีทัศนคติด้านมนุษยสัมพันธ์
038 อ้อม ท.วิถีทางสู่เป้าประสงค์ของ House
แบบของภาวการณ์เป็นผู้นำ
แบบชี้นำ อำนาจนิยม ผู้นำกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการทำงาน ไม่เปิดให้ลูกน้องมีส่วนร่วม
แบบสนับสนุน เป็นกันเอง เข้าหาได้ง่าย
แบบมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ลูกน้องมีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็น แต่ก็ยังทำหน้าที่สั่งการและตัดสินใจ
แบบมุ่งความสำเร็จ จะตั้งเป้าหมายที่ท้าทายไว้ ให้ลูกน้องได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่
ผู้นำ สามารถนำแต่ละแบบมาใช้ได้ ในแต่ละสถานการณ์ ที่แตกต่างกัน
039 พลอย ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ เป็นอย่างไร
มองปัญหาที่จะเกิดขึ้น ในวันพรุ่งนี้
พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
กำหนดมาตรฐานการทำงานของลูกน้องให้สูง
พยายามสร้างและปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องให้ลูกน้อง
ต้องกล้าตัดสินใจ
สุขุมใจเย็น รอเวลาที่เหมาะสมได้
สร้างบรรยากาศในการทำงานให้กระตือรือร้น
ให้ความสนใจต่อความต้องการและความคาดหวัง
ให้การศึกษาและอบรม
กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจนแน่นอน
ยอมรับว่าแต่ละคนมีแรงจูงใจแตกต่างกัน
กำหนดขอบเขตอำนาจหน้าที่การทำงานให้ชัดเจน
043 ผึ้ง คุณลักษณะของผู้นำองค์กร
มีโลกทัศน์ อันกว้างไกล มีความรู้หลายด้าน
การยอมรับฟังความคิดเห็นอันหลากหลาย
การสร้างทีมงาน
การรู้จักการกระจายงาน รู้จักใช้คน
จิตวิทยาของผู้นำ เพื่อให้มีแรงจูงใจ
การรู้จักความรับผิดชอบ ยอมรับข้อผิดพลาด
051 พัด คุณลักษณะที่จำเป็นของผู้นำยุคใหม่
ความรู้ในงาน วิธีการปฏิบัติงาน
ความรู้ในหน้าที่และความรับผิดชอบ
ความรู้ในการปรับปรุงงาน
ความรู้ในการป้องกันอุบัติเหตุ
ความรู้ในการสื่อ และแนะนำงาน
052 รี คุณลักษณะของภาวะผู้นำ
การมีสติปัญญาเหนือผู้อื่น
การมีความมั่นคงทางอารมณ์
การรู้จักใช้แรงจูงใจ
การมีทักษะในการแก้ปัญหา
การมีทักษะด้านการบริหาร
ทักษะด้านเทคนิค
ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์
ทักษะด้านความคิดรวบยอด
053 กฤต คุณลักษณะของผู้นำตัวอย่าง
มีภาวะผู้นำ มีศิลปะในการครองใจคน เป็นนักประสานความเข้าใจ
มีเมตตาธรรม ไม่มีอคติ ไม่มีความลำเอียง
ต้องอยู่บนพื้นฐานของเหตุผล ความถูกต้อง
เป็นนักคิด นักวิเคราะห์
มีการสร้างวิสัยทัศน์
กระจายอำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ เพื่อให้งานสำเร็จรวดเร็ว
รู้จักทำงานในเชิงรุก มุ่งเนื้อหาเป็นหลัก มากกว่ารูปแบบหรือวิธีการ
พิจารณาคนเป็น เชื่อในความสามารถของคนอื่น
โปร่งใส และตรวจสอบได้
รู้จักความพอดี ควรไม่ควร
054 เติ้ล ลักษณะการเป็นผู้นำ
มีเป้าหมาย ชีวิต การทำงาน การเปลี่ยนแปลงองค์การ จะทำให้ผู้นำมีทิศทางในการเดินทาง
ความรู้ ปัจจุบันเป็นยุคที่ต้องใช้ความรู้ในการแข่งขันกัน
กล้าเปลี่ยนแปลง กล้าทดลองสิ่งใหม่ๆ
การกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง
ความอดทน ผู้นำจะต้องมีความรับผิดชอบมากกว่า ผู้ตาม
การบังคับตนเอง การควบคุมตนเอง
การใช้ดุลพินิจ และกล้าตัดสินใจ ต้องเป็นนักวิเคราะห์ นักคิดที่ดี มีความเด็ดขาด
มีมนุษยสัมพันธ์ ต้องทำงานกับผู้อื่น ต้องครองใจคนทำงานได้
055 ชน คุณสมบัติของผู้นำที่ดี
ต้องมีทักษะหลายด้าน
ในการตัดสินใจ วางแผน จัดองค์กร แก้ปัญหา สร้างทีมงาน
ต้องรอบรู้ และมีข้อมูลทันสมัย
ต้องรู้และเข้าใจบทบาทหน้าที่ เพื่อที่จะแสดงบทบาทตามหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างถูกต้องเหมาะสม
กล้าตัดสินใจ
มียุทธวิธีและเทคนิค กลยุทธ์ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของงาน
รู้จักประนีประนอมและยืดหยุ่น
รู้จักเจรจาต่อรอง ต้องได้ทั้งสองฝ่าย
ประสานงานเป็น และประสานประโยชน์ได้
รู้จักใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่น คน เวลา วัสดุอุปกรณ์
เป็นนักประชาธิปไตย ใจกว้าง ยอมรับความแตกต่าง
056 กลอย คุณสมบัติของหัวหน้างาน
รู้งานที่ตนเองรับผิดชอบ รู้นโยบาย เป้าหมายของบริษัท
รู้วิธีการบริหารงาน และการปกครองบังคับบัญชา
มีความฉลาดทันคน
มีความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความเด็ดเดี่ยว
มีกำลังใจสูง
เรียนรู้ได้เร็ว
รอบรู้ในหลายๆ ด้าน
มีความกระตือรือร้น
สุภาพ เป็นมิตร เมตตากรุณา
มีศีลสัตย์ มั่นคงและเที่ยงธรรม
สอนผู้อื่นได้
มีศรัทธาต่องานและเพื่อนร่วมงาน
057 มิว แนวคิดของภาวะผู้นำสมัยใหม่
มีวิสัยทัศน์
มีทักษะทางด้านการสื่อสาร
ทำให้ผู้อื่นไว้วางใจ
ทำให้ผู้อื่นเห็นว่าตนเองมีความสามารถ
มีพลังและมุ่งการปฏิบัติให้บรรลุผล
แสดงอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมและเอื้ออาทรต่อผู้อื่น
ชอบที่จะเสี่ยง
สร้างกลยุทธ์ใหม่ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
มีการโฆษณาตนเอง
ทำให้การขัดแย้งภายในเกิดขึ้นน้อยที่สุด
058 อัญ ความหมาย และการแบ่งลักษณะผู้นำ
Good ผู้นำ คือ ผู้ที่ได้รับการยกย่อง มีความสามารถ นำหมู่คณะไปสู่ความสำเร็จ
ลิปปิตต์ แบ่งผู้นำ ตามลักษณะการบริหารงานเป็น 3 ประเภท
แบบอัตตาธิปไตย เป็นแบบเผด็จการ ใช้อำนาจในการบังคับ บัญชายึดตัวเองเป็นสำคัญ
แบบเสรี ปราศจากความรับผิดชอบ
ไม่มีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่แน่นอน
ทำงานโดยให้ลูกน้องปฏิบัติไปตามเรื่อง
ไม่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ไม่มีการประเมินงาน
แบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้ลูกน้องร่วมแสดงความคิดเห็น จัดสรร มอบหมายงานตามหน้าที่ ให้คำแนะนำ
ตัวอย่างของ ผู้นำที่ดีคือ คุณปัญญา นิรันดร์กุล
059 ลูกน้ำ ต้นแบบของผู้นำที่ดี
เดวิด ไซมอน เป็นผู้นำแห่งการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ผู้นำ คือคนที่สามารถดึงประโยชน์จากผู้ใต้บังคับบัญชาได้ดีที่สุด
ไซมอน มีชื่อเสียงในเรื่องความเป็นมิตร พูดคุยกับพนักงานไม่เลือกระดับชั้นให้ความสำคัญกับวัฒนธรรม มีความเฉลียวฉลาดทางด้านอารมณ์ สติปัญญาปราดเปรื่อง
ตระหนักถึงอารมณ์ของตน และเข้าใจอารมณ์ เหล่านั้น ระบายออกอย่างเหมาะสม
ผู้นำลักษณะนี้ จะมีประสิทธิภาพมากกว่า รู้วิธีการระบายอารมณ์
064 ฝ้าย ทักษะของผู้นำ
ทักษะด้านการจัดการ ผู้นำทุกคนจะต้องบริหารงานในองค์กร
ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ผู้นำจะต้องติดต่อกับคนอื่น
ทักษะด้านการจูงใจ ผู้นำทำหน้าที่กระตุ้นให้ลูกน้องทำงานอย่างทุ่มเท
ทักษะด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นความสามารถพื้นฐาน
ทักษะด้านการตัดสินใจ ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา
ทักษะด้านเทคโนโลยี ความสามารถในการนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เหมาะสม
ทักษะในการเจรจาต่อรอง ไกล่เกลี่ย จัดผลประโยชน์
ตัวอย่างผู้นำ คุณธนินท์ เจียรวนนท์
ท. สองสูง คือ รายได้สูง รายจ่ายสูง
065 บี การเป็นผู้นำ
Power หมายถึง ความสามารถในการใช้อำนาจอย่างมีประสิทธิภาพ และต้องอยู่ภายใต้ขอบเขตของความรับผิดชอบและจริยธรรม
Understanding of people หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลแต่ละคน ต้องใช้วิธีการจูงใจที่แตกต่างกัน
Inspiration หมายถึงความสามารถในการสั่งการ ให้ผู้ใต้บังคังบัญชาทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์การ
Style หมายถึงความสามารถในการสร้างบรรยากาศในองค์กร เพื่อสร้างแรงจูงใจในการทำงาน
แบ่งตามลักษณะ ตามแบบการศึกษา จากลักษณะทางกายภาพ บุคลิกภาพทางสมอง และจิตใจของผู้นำ ได้แก่
การมีความสามารถ ในการวิเคราะห์งานที่สลับซับซ้อน การรวบรวมข้อมูลที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน
มีความอดทน
มีความเฉลียวฉลาด
มีวิจารณญาณ
มีความสามารถในการกระทำ
มีความสามารถในการแก้ปัญหา
มุ่งเน้นเรื่องความสำเร็จ
มีความไวต่อความรู้สึกของคนอื่น
มีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกขององค์กร
มีความสามารถในการสื่อสาร
มีพลังด้านจิตวิทยาสูง
มีความสามารถในการปรับตัวและบริหารความเครียด
มีอารมณ์ขัน
เข้าใจเป้าหมายของบุคคลและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ เข้ากับเป้าหมายขององค์กร
มีความสามารถในการบริหารเวลา
มีความมานะพากเพียร
มีความซื่อสัตย์
มีความรับผิดชอบต่อสังคม
066 พร คุณลักษณะที่จำเป็น
ต้องกล้าที่จะท้าทายกระบวนการทำงาน เพื่อหาโอกาสเปลี่ยนแปลง
ต้องเหนี่ยวนำชักจูงให้เกิดวิสัยทัศน์ร่วม
ต้องช่วยทำให้คนอื่นสามารถปฏิบัติงานได้
ต้องทำให้เป็นตัวอย่าง
ต้องเสริมสร้างกำลังใจ
068 นัฐ ลักษณะของผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ
ผู้บริหารจะมีวิสัยทัศน์
ผู้บริหารจะสร้างวิสัยทัศน์ใหม่ เพื่อให้จัดตั้งองค์กรขึ้นมาได้
กล้าที่จะกระจายอำนาจและความรับผิดชอบให้กับพนักงาน กระตุ้นให้พนักงานคิดริเริ่ม
ใช้งบประมาณและข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างวัฒนธรรมการบังคับบัญชาและกระบวนการปฏิบัติงานใหม่
จะบูรณาการทุกกิจกรรม เพื่อให้มีการจัดการเชิงยุทธศาสตร์ อย่างต่อเนื่อง
070 กุ๊กไก่
ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้
ต้องมีระบบการติดต่อกับลูกน้อง ที่มีประสิทธิภาพ
รู้จักใช้คน
ต้องติดตามงานอยู่เสมอ ถ้ามีข้อบกพร่องต้องรีบแก้ไข
พิจารณาลำดับความสำคัญของงาน
มีพรหมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา
กระตุ้นให้ลูกน้องแสดงความคิดเห็น
อย่าหูเบา
ยกย่องชมเชย คนทำดี
ดุ เล่นงานลูกน้องอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
สามารถใช้อำนาจ หน้าที่อย่างมีเหตุผล มีประสิทธิภาพ
เข้าใจความต้องการของคน
มีความสามารถสร้างแรงจูงใจ ให้ลูกน้อง
มีความสามารถจัดสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นการทำงาน
074 วาว คุณสมบัติของผู้นำที่ดี
มีภูมิหลัง และประสบการณ์
สติปัญญา และสุขภาพจิต ไม่ว่าทางด้านภาษา และการใช้เหตุผล
การมีเหตุผล แยกผิด แยกถูกได้
มีความสามารถในการวินิจฉัย รู้จักคิดอย่างลึกซึ้ง และตัดสินใจได้ถูกต้อง
สามารถจดจำได้ โดยเฉพาะชื่อของลูกน้อง หรือจำเรื่องราวต่างๆ ที่เคยสัญญากันไว้ได้
มีความรอบรู้ เป็นการใฝ่หาความรู้อย่างกว้างขวาง แยกแยะปัญหา เป็นการศึกษาความรู้
มีความยืดหยุ่น เป็นการยืดหยุ่นต่อเหตุการณ์ ไม่ถือตัวเองเป็นหลัก
มีมนุษยสัมพันธ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี
มีแรงจูงใจ ที่ค่อนข้างสูง และเป็นประโยชน์
มีความเชื่อมั่นในตนเองไม่โลเล กล้าตัดสินใจ
มีไหวพริบ สามารถแก้ไขปัญหาตามโอกาสต่างๆ ได้ผล
มีความซื่อสัตย์ ไม่โกง
มีความยุติธรรม ไม่ลำเอียงให้ความเป็นธรรมกับลูกน้องทุกคน
สอนงานคนอื่นๆได้ ถ่ายทอดความชำนาญของตนให้แก่ลูกน้อง
เป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อรับข้อมูลจากผู้อื่น และทำให้ผู้พูดเกิดกำลังใจที่จะรับฟัง
มีความคิดสร้างสรรค์ พยายามหาสิ่งที่ทำให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป
ความน่าเชื่อถือ เลื่อมใส ศรัทธาตนเองและให้คนอื่นๆ ศรัทธาเราด้วย
ความมีวินัย เคารพกฎเกณฑ์ และปฏิบัติตาม
มีความทะเยอทะยาน เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดความคิดริเริ่ม
075 ทราย
ต้องมีสภาพจิตใจที่มั่นคง
มีเมตตากรุณา เสียสละ
มีทัศนคติมุ่งไปข้างหน้า สร้าง แก้ ทางธรรม มองในเชิงบวก
มีความสามารถในการพูด การแสดงออก
มีผลงานจริงจัง
ก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ
การสร้างความสามารถในการบริหาร ประเมินองค์การ
078 ติ๊ก
มีความรู้เกี่ยวกับงานที่ตนเองรับผิดชอบ
มีความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความอดทน
มีการตัดสินใจที่ดี
สนใจผู้ใต้บังคับบัญชา
มีมนุษยสัมพันธ์ดี
มีบุคลิกภาพที่ดี
มีความยุติธรรม เห็นใจผู้อื่น
มีสุขภาพ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์
มีความคิดริเริ่ม
071 เพชร (เรียนร่วม)
อธิบายที่มาของข้อมูลที่ตนเองมีอยู่ได้
เพื่อให้ผู้ร่วมงานเกิดความเชื่อมั่น
มีความมุ่งมั่นที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้สำเร็จ
ต้องทำงานมากกว่าลูกน้อง
ต้องมีความเชื่อมั่น ในตนเอง
096 ติ (เรียนร่วม) ผู้นำที่ต้องเข้ามาแก้ไขภาวะวิกฤต
ผู้นำต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนในองค์การ เช่น ความซื่อสัตย์ ความมีศักดิ์ศรี
ผู้นำต้องให้คนในองค์การรู้ร่วมกัน เพื่อสร้างวิสัยทัศน์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ผู้นำนักปฏิบัติที่สามารถจัดการข้ามขอบเขตขององค์การได้
ผู้นำผู้สร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงาน กล้าที่จะทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
034 เม้ง
ความมุ่งมั่นต่อความสำเร็จ
การตั้งและคาดหวังในมาตรฐานที่สูงเช่น ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ
การเข้มงวดและยุติธรรม
การให้ความสำคัญกับโอกาส
049 โบ ประเภท ของผู้นำ 7 ประเภท
David Rook & William Torbert
ผู้นำนักฉวยโอกาส ยึดถือความคิดตัวเองเป็นใหญ่
ผู้นำประเภทนักการทูต ชอบสร้างภาพ ให้เป็นที่รักตลอดเวลา
ผู้นำประเภทชำนาญการ จะใช้ความรู้ที่ลุ่มลึกในงานที่ตนรับผิดชอบ
ผู้นำประเภทจัดการ ทำงานทุกอย่างได้ดี ร่วมมือกับผู้อื่น
ผู้นำประเภทข้าแน่คนเดียวคล้ายกับผู้ชำนาญการ แต่จะรู้จักการมองโลกสองด้าน
ผู้นำประเภทนักยุทธศาสตร์ มองเห็นภาพรวมทั้งหมด รู้ว่าสิ่งไหนทำได้หรือไม่ได้
ผู้นำประเภทนักสร้างสรรค์พัฒนา พร้อมที่จะพัฒนาตนเองตลอดเวลา
050 เปิ้ล
การเป็นผู้ที่รู้จักตนเอง
การเป็นผู้ที่รู้จักการวิเคราะห์หาเหตุผล
การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดกาล
ความเข้าใจในจิตวิทยาการบริหารงาน
การเป็นคนดี
067 ใหม่
มาร์แชล โกลด์สมิท เป็นผู้รู้ทางด้านผู้นำเชิงกลยุทธ์
ต้องคิดถึงภาพรวมโลก มี สองปัจจัย
การเพิ่มขึ้น ของการค้าระหว่างประเทศ และ
การบูรณาการทางด้านเทคโนโลยี
ต้องเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของทีมงานและประเทศที่เข้าไปทำธุรกิจ
ต้องสามารถบริหารจัดการเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องได้
ต้องสร้างหุ้นส่วนทางธุรกิจเพื่อให้สามารถแข่งขันกับตลาดโลกได้
ต้องแบ่งปันประสบการณ์การเป็นผู้นำ
073 ส้ม
ภาวะผู้นำแบบสถาบันมิติ และบุคลามิติ
Getzels Guba มองว่ากระบวนการบริหารเป็นระบบหนึ่ง มีสองมิติ
คือด้านสถาบัน และ ด้านบุคคล
ด้านสถาบันประกอบด้วย บทบาท และความคาดหวัง
ด้านบุคคล ประกอบด้วย บุคคล บุคลิกภาพ และความต้องการ
มิติทั้งสองมีความสัมพันธ์กัน
มี สามแบบ ตามพฤติกรรม ที่กำหนด
ผู้นำแบบเน้นสถาบัน มุ่งหวังให้งานสำเร็จเป็นสำคัญ
ผู้นำแบบยึดบุคคล เน้นความสำคัญของบุคคลในสถาบัน พยายามเข้าใจลูกน้อง สร้างความสัมพันธ์อันดี
ผู้นำแบบผสมผสาน เน้นความสำคัญทั้งสองด้าน ทั้งสถาบันและบุคคลถือว่า เป็นผู้นำที่สมบูรณ์
081 เอิร์ท
ความแตกต่างระหว่างผู้บริหาร กับ ผู้นำ
ภาวะผู้นำที่เป็นทางการ และ ไม่เป็นทางการ
สรุป คุณสมบัติของผู้นำ
ความรู้ ความสามารถ ความฉลาด










23 ความคิดเห็น:

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว นัฐภรณ์ อยู่ดี รหัส 5210125401068 การจัดการทั่วไป ปี 4
บทที่ 4
คุณลักษณะของผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ
ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะต้องเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยปกติ เป็นผู้กระตุ้นให้ผู้อื่นเกิดความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติงานเพื่อมุ่งสู่เป้าประสงค์อันเป็นภาพหมายแห่งอนาคตที่หมายไว้ เป็นผู้ที่มีอิทธิพลทำให้ผู้อื่นสมัครใจร่วมทำงานในสถานการณ์ต่างๆให้บรรลุความสำเร็จ
คุณสมบัติภาวะผู้นำดังกล่าวข้างต้น เป็นเพียงเกณฑ์พิจารณาพื้นฐานที่องค์กรใช้ประกอบในการตัดสินใจคัดเลือกผู้บริหาร เท่ากับเป็นการสร้างความมั่นใจว่าถ้าให้ผู้บริหารที่ผ่านการสรรหาน่าจะรับผิดชอบการบริหารจัดการได้ดี
ลักษณะของผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ โดยทั่วไปจะบริหารจัดการงานและองค์กร ในลักษณะดังต่อไปนี้
1. ผู้บริหารที่อาสาบริหารจัดการ องค์กรที่ได้จัดตั้งมาแล้ว ผู้บริหารเขาจะสร้างวิสัยทัศน์และใช้กรอบมาตรการวัดผลการดำเนินงานการบริหารดุลยภาพ BSC กำหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ที่จะนำไปสูวิสัยทัศน์นั้น
2. กรณีที่ยังไม่มีองค์กร หรือยังไม่ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะสร้างวิสัยทัศน์ใหม่ และสร้างองค์กรที่มีลักษณะการบริหารจัดการที่เป็นเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อให้จัดตั้งองค์กรขึ้นมาให้ได้ (ผู้ริเริ่ม ผู้บุกเบิก)
3. กล้าที่จะกระจายอำนาจและความรับผิดชอบให้พนักงานในระดับที่ต่ำกว่า เพื่อให้สามารถตัดสินใจในการจัดการทรัพยากร และเพื่อกระตุ้นให้พนักงานกล้าที่จะคิดริเริ่มในสิ่งใหม่
4. ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะใช้งบประมาน ข้อมูลข่าวสาร และระบบการรายงานเพื่อสร้างวัฒนธรรมการทำงาน การบังคับบัญชาและกระบวนการปฏิบัติงานใหม่
5. ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ จะบูรณาการทุกกิจกรรมงานและทรัพยากรเพื่อให้มีการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
ผู้บริหารที่สามารถบริหารจัดการงานและองค์กรให้มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความมั่นใจได้ว่าองค์กรจะเติบโตอย่างมั่นคง การบริหารจัดการแบบมียุทธศาสตร์จึงเหมาะสำหรับองค์กรที่ต้องการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่ดีกว่าที่เป็นมาและเป็นอยู่ และยังใช้ได้ดีในการบริหารจัดการกับปัญหาที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
อ้างอิง : นิรมิต เทียมทัน. ศาสตร์และศิลป์สำหรับผู้สร้างอนาคตใหม่. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ ส.เอเชียเพรส. 2548

Unknown กล่าวว่า...

นางสาว นัฐภรณ์ อยู่ดี รหัส 5210125401068 การจัดการทั่วไป ปี 4
บทที่ 4
คุณลักษณะของผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ
ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะต้องเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถในการปฏิบัติงานที่สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยปกติ เป็นผู้กระตุ้นให้ผู้อื่นเกิดความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติงานเพื่อมุ่งสู่เป้าประสงค์อันเป็นภาพหมายแห่งอนาคตที่หมายไว้ เป็นผู้ที่มีอิทธิพลทำให้ผู้อื่นสมัครใจร่วมทำงานในสถานการณ์ต่างๆให้บรรลุความสำเร็จ
คุณสมบัติภาวะผู้นำดังกล่าวข้างต้น เป็นเพียงเกณฑ์พิจารณาพื้นฐานที่องค์กรใช้ประกอบในการตัดสินใจคัดเลือกผู้บริหาร เท่ากับเป็นการสร้างความมั่นใจว่าถ้าให้ผู้บริหารที่ผ่านการสรรหาน่าจะรับผิดชอบการบริหารจัดการได้ดี
ลักษณะของผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ โดยทั่วไปจะบริหารจัดการงานและองค์กร ในลักษณะดังต่อไปนี้
1. ผู้บริหารที่อาสาบริหารจัดการ องค์กรที่ได้จัดตั้งมาแล้ว ผู้บริหารเขาจะสร้างวิสัยทัศน์และใช้กรอบมาตรการวัดผลการดำเนินงานการบริหารดุลยภาพ BSC กำหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ที่จะนำไปสูวิสัยทัศน์นั้น
2. กรณีที่ยังไม่มีองค์กร หรือยังไม่ได้จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะสร้างวิสัยทัศน์ใหม่ และสร้างองค์กรที่มีลักษณะการบริหารจัดการที่เป็นเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อให้จัดตั้งองค์กรขึ้นมาให้ได้ (ผู้ริเริ่ม ผู้บุกเบิก)
3. กล้าที่จะกระจายอำนาจและความรับผิดชอบให้พนักงานในระดับที่ต่ำกว่า เพื่อให้สามารถตัดสินใจในการจัดการทรัพยากร และเพื่อกระตุ้นให้พนักงานกล้าที่จะคิดริเริ่มในสิ่งใหม่
4. ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำจะใช้งบประมาน ข้อมูลข่าวสาร และระบบการรายงานเพื่อสร้างวัฒนธรรมการทำงาน การบังคับบัญชาและกระบวนการปฏิบัติงานใหม่
5. ผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ จะบูรณาการทุกกิจกรรมงานและทรัพยากรเพื่อให้มีการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
ผู้บริหารที่สามารถบริหารจัดการงานและองค์กรให้มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังกล่าวข้างต้น ทำให้เกิดความมั่นใจได้ว่าองค์กรจะเติบโตอย่างมั่นคง การบริหารจัดการแบบมียุทธศาสตร์จึงเหมาะสำหรับองค์กรที่ต้องการเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่ดีกว่าที่เป็นมาและเป็นอยู่ และยังใช้ได้ดีในการบริหารจัดการกับปัญหาที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
อ้างอิง : นิรมิต เทียมทัน. ศาสตร์และศิลป์สำหรับผู้สร้างอนาคตใหม่. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ ส.เอเชียเพรส. 2548

Miss saichon Nakpansue กล่าวว่า...

นางสาวสายชน นาคปานเสือ 055 การจัดการทั่วไป

เฮนรี่ ฟาโยล์ (Henri Fayol) คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีการจัดการตามหลักการบริหาร ฟาโยล์เป็นชาวฝรั่งเศสและเป็นนักบริหารระดับสูงในอุตสาหกรรม ซึ่งตามแนวความคิดของฟาโยล์ การที่จะทำให้การบริหารงานบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์นั้นประการแรก ฟาโยล์เห็นว่านักบริหารจะต้องทำหน้าที่ทางการบริหาร ซึ่งประกอบด้วย การวางแผน
การจัดองค์การ การสั่งการ การประสานงาน และการควบคุม ประการที่สองนักบริหารจะต้องทราบถึงหลักการบริหารที่สำคัญ ๆ ซึ่งฟาโยล์ได้นำเสนอหลักการบริหารที่มีประสิทธิผลของฟาโยล์ที่มีอยู่ 14 ข้อ ดังนี้คือ
(1) หลักของการแบ่งงานกันทำ
(2) หลักที่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
(3) หลักของความมีระเบียบวินัย
(4) หลักของการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
(5) หลักของการมีเป้าหมายเดียวกัน
(6) หลักของผลประโยชน์ส่วนตัวมีความสำคัญน้อยกว่าผลประโยชน์ขององค์การ
(7) หลักของการกำหนดค่าตอบแทน และวิธีการจ่ายค่าตอบแทน
(8) หลักของการรวมอำนาจ
(9) หลักการจัดสายการบังคับบัญชา
(10) หลักของความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการบริหารนั้น
(13) หลักของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
(14) หลักของความสามัคคี

Unknown กล่าวว่า...

ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064

ทักษะของผู้นำ
ทักษะที่ผู้นำควรมี ดังต่อไปนี้
1.ทักษะด้านการจัดการ เนื่องจากผู้นำทุกคนจำเป็นต้องบริหารงานภายในองค์การ เช่น การกำหนดนโยบาย กำหนดแผนปฏิบัติการประจำปี หรือร่วมอยู่ในคณะกรรมการการติดตามประเมินผลงานต่างๆ ดังนั้นทักษะด้านการจัดการ เช่น ทักษะในการวางแผน การประสานงาน การควบคุมงาน จึงเป็นสิ่งสิ่งที่ผู้นำจำเป็นต้องมี
2.ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์เป็นสิ่งสำคัญมากสิ่งหนึ่งสำหรับผู้นำ เพราะผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่ต้องติดต่อเกี่ยวกับคนอื่นไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ทางด้านประสานประโยชน์หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างบุคคลในหน่อยงาน มนุษยสัมพันธ์อาจแสดงออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น ความสามารถในการเข้ากับผู้อื่นได้ ความช่วยเหลือ ความร่วมมือ ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น เป็นต้น
3.ทักษะด้านการจูงใจ เนื่องจากผู้นำต้องทำน้าที่ชักจูงและกระตุ้นให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาทุ่มเทการทำงานให้แก่หน่วยงาน ดังนั้น ทักษะการจูงใจจึงเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ผู้นำควรจะมี การจูงใจอาจแสดงออกมาในรูปของการเป็นตัวอย่างที่ดี การวางตัวที่เหมาะสม การตอบแทนหรือให้รางวัลที่เป็นไปอย่างยุติธรรมและจริงใจหรืออาจเป็นเพียงการให้กำลังใจด้วยคำชมในเวลาที่เหมาะสม การจูงใจที่กระทำไปด้วยความจริงใจและเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ร่วมงานเกิดขวัญกำลังใจ ไม่ท้อแท้เบื่อหน่าย เห็นความสำคัญของตนเองและงานที่ทำเกิดพลังและความตั้งใจที่จะเอาชนะปัญหาและอุปสรรคต่อไป ท้ายที่สุดจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้สำเร็จสมตามความมุ่งหมายที่ผู้นำคาดหวังไว้
4.ทักษะด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นความสามารถพื้นฐานที่ผู้นำจะต้องมีอยู่ก่อนจึงจะศรัทธาให้เกิดทักษะอื่นๆได้ เพราะในการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้อื่นสิ่งแรกๆที่มักจะต้องทำก่อนที่จะจูงใจหรือสร้างความศรัทธาให้เกิดขึ้นได้คือการสื่อสารให้ผู้ร่วมงานเข้าใจในหลักความคิดเป้าหมายและความต้องการของตัวผู้นำเอง จุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ เพราะอุดมการณ์ ความคิด และนโยบายของผู้นำมักจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ดึงดูดให้ผู้ตามเกิดการยอมรับและให้การสนับสนุนในเวลา
5.ทักษะด้านการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา สืบค้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข พร้อมทั้งตัดสินใจแก้ปัญหาโดยเลือกแนวทางที่ให้ประโยชน์แก่องค์การมากที่สุด ทักษะด้านนี้จึงต้องอาศัยทั้งสติปัญญาความรู้ และการฝึกฝนจากประสบการณ์จนเกิดความชำชาญ เนื่องจากผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่จะต้องเข้ามาโอบอุ้มหรือช่วยแก้ปัญหาให้แก่องค์การ เมื่อองค์การประสบภาวะคับขัน
6.ทักษะด้านเทคโนโลยี หมายถึง ความสามารถในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับสภาพของหน่อยงาน เนื่องจากการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันเป็นเรื่องของการแข่งขันในเรื่อเวลาประสิทธิภาพการทำงานและความรวดเร็วของข้อมูล ข่าวสาร ดังนั้นผู้นำจึงควรรู้จักช่วงชิงความได้เปรียบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆที่เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณของงาน รวมถึงรายได้ของบริษัท รวมทั้งผู้นำต้องรู้จักเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนำมาประยุกต์ใช้ได้เหมาะสมกับหน่อยงาน
7.ทักษะในการเจรจาต่อรอง หมายถึง ความสามารถในการต่อรองไกล่เกลี่ย และจัดสรรผลประโยชน์ระหว่างบุคคลและหน่อยงานต่างๆเนื่องจากตำแหน่งและงบประมาณต่างๆทั้งภายในหน่อยงานและระหว่างหน่อยงานมักมีน้อยกว่าความต้องการ บุคคลบางคนหรือหน่วยงานบางแห่งจึงใช้วิธีการต่างๆเพื่อแข่งขันและแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้ฝ่ายต่างๆพอใจหรือผิดหวังน้อยที่สุด ทักษะในการเจรจาต่อรองจึงเป็นเรื่องสำคัญที่กระทบถึงขวัญและกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน

ตัวอย่างผู้นำ
คุณธนินท์ เจียรวนนท์ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ หรือ CPF
ทฤษฎีของคุณธนินท์ คือ ทฤษฎีสองสูง คือ รายได้สูง รายจ่ายสูง
ทฤษฎีสองสูง ทำให้ประชาชนมีทางเลือก มีเงิน การพัฒนาด้านเทคโนโลยีก็เกิดขึ้น และในที่สุดราคาสินค้าเกษตร จะถูกลงมาเองตามธรรมชาติ อย่างเมื่อก่อนไก่เป็นอาหารคนรวย แต่ตอนนี้ไก่กลับมีราคาถูกกว่าหมู เนื่องจากรัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงราคา ทำให้มีการพัฒนาเทคโนโลยี ต้นทุนต่ำลง คนกล้าลงทุนมากขึ้น
เรื่องคนของคุณธนินท์
คุณธนินท์มักกล่าวกับผู้บริหารและผู้ร่วมงานในเครือฯอยู่เสมอว่า
"คนที่จะเป็นผู้บริหารระดับสูงไม่ควรมองที่ จุดด้อยของคนอื่น แล้วมองแต่จุดเด่นของตัวเอง เพราะว่าถ้าพยายามมองจุดด้อยของคนอื่น ก็จะคิดว่าตัวเองเก่งอยู่ทุกครั้งทุกทีไป จึงไม่ได้มีความพยายามปรับตัว เราต้องมองจุดเด่นของคนอื่น แล้วหาทางใช้จุดเด่นของเขาให้เป็นประโยชน์ จึงสามารถทำงานใหญ่ได้"

อ้างอิง : สมคิด บางโม. (2550). องค์การและการจัดการ.พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์

Unknown กล่าวว่า...

ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064

ทักษะของผู้นำ
ทักษะที่ผู้นำควรมี ดังต่อไปนี้
1.ทักษะด้านการจัดการ เนื่องจากผู้นำทุกคนจำเป็นต้องบริหารงานภายในองค์การ เช่น การกำหนดนโยบาย กำหนดแผนปฏิบัติการประจำปี หรือร่วมอยู่ในคณะกรรมการการติดตามประเมินผลงานต่างๆ ดังนั้นทักษะด้านการจัดการ เช่น ทักษะในการวางแผน การประสานงาน การควบคุมงาน จึงเป็นสิ่งสิ่งที่ผู้นำจำเป็นต้องมี
2.ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์เป็นสิ่งสำคัญมากสิ่งหนึ่งสำหรับผู้นำ เพราะผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่ต้องติดต่อเกี่ยวกับคนอื่นไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ทางด้านประสานประโยชน์หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างบุคคลในหน่อยงาน มนุษยสัมพันธ์อาจแสดงออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น ความสามารถในการเข้ากับผู้อื่นได้ ความช่วยเหลือ ความร่วมมือ ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น เป็นต้น
3.ทักษะด้านการจูงใจ เนื่องจากผู้นำต้องทำน้าที่ชักจูงและกระตุ้นให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาทุ่มเทการทำงานให้แก่หน่วยงาน ดังนั้น ทักษะการจูงใจจึงเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ผู้นำควรจะมี การจูงใจอาจแสดงออกมาในรูปของการเป็นตัวอย่างที่ดี การวางตัวที่เหมาะสม การตอบแทนหรือให้รางวัลที่เป็นไปอย่างยุติธรรมและจริงใจหรืออาจเป็นเพียงการให้กำลังใจด้วยคำชมในเวลาที่เหมาะสม การจูงใจที่กระทำไปด้วยความจริงใจและเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ร่วมงานเกิดขวัญกำลังใจ ไม่ท้อแท้เบื่อหน่าย เห็นความสำคัญของตนเองและงานที่ทำเกิดพลังและความตั้งใจที่จะเอาชนะปัญหาและอุปสรรคต่อไป ท้ายที่สุดจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้สำเร็จสมตามความมุ่งหมายที่ผู้นำคาดหวังไว้
4.ทักษะด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นความสามารถพื้นฐานที่ผู้นำจะต้องมีอยู่ก่อนจึงจะศรัทธาให้เกิดทักษะอื่นๆได้ เพราะในการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้อื่นสิ่งแรกๆที่มักจะต้องทำก่อนที่จะจูงใจหรือสร้างความศรัทธาให้เกิดขึ้นได้คือการสื่อสารให้ผู้ร่วมงานเข้าใจในหลักความคิดเป้าหมายและความต้องการของตัวผู้นำเอง จุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ เพราะอุดมการณ์ ความคิด และนโยบายของผู้นำมักจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ดึงดูดให้ผู้ตามเกิดการยอมรับและให้การสนับสนุนในเวลา
5.ทักษะด้านการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา สืบค้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข พร้อมทั้งตัดสินใจแก้ปัญหาโดยเลือกแนวทางที่ให้ประโยชน์แก่องค์การมากที่สุด ทักษะด้านนี้จึงต้องอาศัยทั้งสติปัญญาความรู้ และการฝึกฝนจากประสบการณ์จนเกิดความชำชาญ เนื่องจากผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่จะต้องเข้ามาโอบอุ้มหรือช่วยแก้ปัญหาให้แก่องค์การ เมื่อองค์การประสบภาวะคับขัน
6.ทักษะด้านเทคโนโลยี หมายถึง ความสามารถในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับสภาพของหน่อยงาน เนื่องจากการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันเป็นเรื่องของการแข่งขันในเรื่อเวลาประสิทธิภาพการทำงานและความรวดเร็วของข้อมูล ข่าวสาร ดังนั้นผู้นำจึงควรรู้จักช่วงชิงความได้เปรียบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆที่เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณของงาน รวมถึงรายได้ของบริษัท รวมทั้งผู้นำต้องรู้จักเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนำมาประยุกต์ใช้ได้เหมาะสมกับหน่อยงาน
7.ทักษะในการเจรจาต่อรอง หมายถึง ความสามารถในการต่อรองไกล่เกลี่ย และจัดสรรผลประโยชน์ระหว่างบุคคลและหน่อยงานต่างๆเนื่องจากตำแหน่งและงบประมาณต่างๆทั้งภายในหน่อยงานและระหว่างหน่อยงานมักมีน้อยกว่าความต้องการ บุคคลบางคนหรือหน่วยงานบางแห่งจึงใช้วิธีการต่างๆเพื่อแข่งขันและแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้ฝ่ายต่างๆพอใจหรือผิดหวังน้อยที่สุด ทักษะในการเจรจาต่อรองจึงเป็นเรื่องสำคัญที่กระทบถึงขวัญและกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน

ตัวอย่างผู้นำ
คุณธนินท์ เจียรวนนท์ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ หรือ CPF
ทฤษฎีของคุณธนินท์ คือ ทฤษฎีสองสูง คือ รายได้สูง รายจ่ายสูง
ทฤษฎีสองสูง ทำให้ประชาชนมีทางเลือก มีเงิน การพัฒนาด้านเทคโนโลยีก็เกิดขึ้น และในที่สุดราคาสินค้าเกษตร จะถูกลงมาเองตามธรรมชาติ อย่างเมื่อก่อนไก่เป็นอาหารคนรวย แต่ตอนนี้ไก่กลับมีราคาถูกกว่าหมู เนื่องจากรัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงราคา ทำให้มีการพัฒนาเทคโนโลยี ต้นทุนต่ำลง คนกล้าลงทุนมากขึ้น
เรื่องคนของคุณธนินท์
คุณธนินท์มักกล่าวกับผู้บริหารและผู้ร่วมงานในเครือฯอยู่เสมอว่า
"คนที่จะเป็นผู้บริหารระดับสูงไม่ควรมองที่ จุดด้อยของคนอื่น แล้วมองแต่จุดเด่นของตัวเอง เพราะว่าถ้าพยายามมองจุดด้อยของคนอื่น ก็จะคิดว่าตัวเองเก่งอยู่ทุกครั้งทุกทีไป จึงไม่ได้มีความพยายามปรับตัว เราต้องมองจุดเด่นของคนอื่น แล้วหาทางใช้จุดเด่นของเขาให้เป็นประโยชน์ จึงสามารถทำงานใหญ่ได้"

อ้างอิง : สมคิด บางโม. (2550). องค์การและการจัดการ.พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์

Unknown กล่าวว่า...

ชื่อ น.ส.วรรณภา ปั้นนาค รหัส 5210125401038 เอกการจัดการทั่วไป ปี 4 ภาคปกติ
ทฤษฎีวิธีทางสู่เป้าประสงค์ (ลักษณะของผู้นำ)
เฮาส์ ( House, 1971) ได้แสดงทัศนคติว่า จากทฤษฎีสู่เป้าประสงค์ อาจกำหนดชนิดหรือแบบของภาวะผู้นำได้ 4 แบบซึ่งสรุปได้ดังนี้
1.ภาวะการเป็นผู้นำแบบชี้ทาง (Directive leadership) ภาวะการเป็นผู้นำแบบนี้มีลักษณะของภาวะการเป็นผู้นำแบบอำนาจนิยม (Authoritarian) ผู้นำจะเป็นผู้กำหนดเป้าหมายและแนวทางการปฏิบัติงานโดยเฉพาะให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา โดยผู้ใต้บังคับบัญชาจะไม่เปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วม (Participation)
2.ภาวะการเป็นผู้นำแบบสนับสนุน (Supportive leadership) ผู้นำแบบนี้จะมีความเป็นกันเอง มีลักษณะเข้าหาได้ง่ายและมีความเห็นอกเห็นใจผู้ใต้บังคับบัญชาอย่าแท้จริง
3.ภาวะการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (Participative leadership) ผู้นำแบบนี้จะเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีส่วนร่วม โดยเขาจะขอให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็นต่างๆ แต่ถึงกระนั้น เขาก็ยังรักษาและสงวนหน้าที่ในการทำการวินิจฉัยสั่งการหรือการตัดสินใจไว้ที่ตัวเขา
4.ผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ (Achievement - oriented leadership) ผู้นำแบบนี้จะตั้งเป้าหมายที่น่าท้าทายไว้สำหรับผู้ใต้บังคับบัญชาและมีความมั่นใจว่าผู้ใต้บังคับบัญชาจะบรรลุเป้าหมายต่างๆเหล่านั้นได้อย่างดี ดังนั้น ผู้นำแบบนี้จึงมีความเชื่อมั่นในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาและจะเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้แสดงความสามารถอย่างเต็มที่
เฮาส์แนะนำว่าชนิดหรือแบบต่างๆของภาวการณ์เป็นผู้นำนี้ ผู้นำคนหนึ่งอาจนำมาใช้ได้ในสถานการณ์ที่ต่างกัน ปัจจัยที่กำหนดความแตกต่างของสถานการณ์หนึ่งๆก็คือปัจจัยลักษณะส่วนตัวของผู้ใต้บังคับบัญชาและปัจจัยสภาพแวดล้อม

อ้างอิงจาก ชนัญนี ภังคานนท์. (2551). พฤติกรรมและการสื่อสารในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่. ปทุมธานี.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

blueheart กล่าวว่า...

ศิลปะการเป็นผู้นำที่ดี
1. ต้องซาบซึ้งถึงนโยบาย อำนาจหน้าที่และกิจการงานในหน่วยงานของตน
2. ต้องมีแผนในการดำเนินงาน และหมั่นเอาใจใส่ปรับปรุงอยู่เสมอ
3. ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4. ต้องจัดให้มีระบบการติดต่อกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
5. ต้องรู้จักใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
6. ต้องมีความซื่อสัตย์
7. ต้องติดตามงานอยู่เสมอ
8. ต้องรู้จักพิจารณาลำดับความสำคัญของงาน งานด่วนต้องรีบทำก่อน
9. ต้องเป็นผู้มีพรหมวิหารสี่
10. ต้องมีความยุติธรรม
11. ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา
12. ต้องหมั่นอบรมผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความสามารถในการทำงาน
13. ต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความคิดริเริ่มด้วย
14. ต้องกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น และหาทางปรับปรุงงานของหน่วยงานของตนอยู่เสมอ
15. ต้องเป็นคนใจกว้างและมีใจหนักแน่นต่อสภาวการณ์ และคำพูดที่ขัดแย้ง หรือที่ไม่เป็นมิตร
16. อย่าเป็นคนหูเบา ต้องฟังความเห็นทุกด้านก่อน แล้วจึงสั่งการหรือปฏิบัติการ แต่อย่าเมินต่อข่าวลือหรือคำบอกกล่าว
17. ต้องเป็นผู้ที่กล้ายอมรับผิด
18. ต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชา
19. ต้องขยันในงาน อุทิศเวลาให้แก่หน้าที่การงาน
20. จงยกย่องชมเชยผู้กระทำดี และควรทำต่อหน้าผู้อื่นเมื่อมีโอกาส
21. จงดุ หรือ เล่นงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
22. ต้องแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นว่า ความก้าวหน้าของเขาขึ้นอยู่กับผลแห่งการปฏิบัติงานของเขามากกว่าสิ่งอื่นใด
23. ต้องให้เกียรติผู้ที่เสนอความคิดเห็นหรือวิธีการไว้ อย่าอ้างเอาความคิดเห็นหรือวิธีการที่ผู้อื่นเสนอว่าเป็นของตน
24. อย่าเป็นคนโลเลหรือเปลี่ยนใจบ่อยๆ
25. ต้องเป็นผู้สั่งและอำนวยการที่ดี
26. จงเป็นผู้นำ ของผู้ใต้บังคับบัญชา มิใช่ผู้ถือแส้คุมอยู่เบื้องหลัง
27. ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา

นางสาวหทัยทิพย์ พรายแก้ว รหัส 5210125401070 การจัดการทั่วไปปี 4
อ้างอิงจาก หนังสือ การบริหารทักษะ และ การปฏิบัติ โดย เอกชัย กี่สุขพันธ์ พ.ศ.2530

blueheart กล่าวว่า...

ศิลปะการเป็นผู้นำที่ดี
1. ต้องซาบซึ้งถึงนโยบาย อำนาจหน้าที่และกิจการงานในหน่วยงานของตน
2. ต้องมีแผนในการดำเนินงาน และหมั่นเอาใจใส่ปรับปรุงอยู่เสมอ
3. ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4. ต้องจัดให้มีระบบการติดต่อกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
5. ต้องรู้จักใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
6. ต้องมีความซื่อสัตย์
7. ต้องติดตามงานอยู่เสมอ
8. ต้องรู้จักพิจารณาลำดับความสำคัญของงาน งานด่วนต้องรีบทำก่อน
9. ต้องเป็นผู้มีพรหมวิหารสี่
10. ต้องมีความยุติธรรม
11. ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา
12. ต้องหมั่นอบรมผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความสามารถในการทำงาน
13. ต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความคิดริเริ่มด้วย
14. ต้องกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น และหาทางปรับปรุงงานของหน่วยงานของตนอยู่เสมอ
15. ต้องเป็นคนใจกว้างและมีใจหนักแน่นต่อสภาวการณ์ และคำพูดที่ขัดแย้ง หรือที่ไม่เป็นมิตร
16. อย่าเป็นคนหูเบา ต้องฟังความเห็นทุกด้านก่อน แล้วจึงสั่งการหรือปฏิบัติการ แต่อย่าเมินต่อข่าวลือหรือคำบอกกล่าว
17. ต้องเป็นผู้ที่กล้ายอมรับผิด
18. ต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชา
19. ต้องขยันในงาน อุทิศเวลาให้แก่หน้าที่การงาน
20. จงยกย่องชมเชยผู้กระทำดี และควรทำต่อหน้าผู้อื่นเมื่อมีโอกาส
21. จงดุ หรือ เล่นงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
22. ต้องแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นว่า ความก้าวหน้าของเขาขึ้นอยู่กับผลแห่งการปฏิบัติงานของเขามากกว่าสิ่งอื่นใด
23. ต้องให้เกียรติผู้ที่เสนอความคิดเห็นหรือวิธีการไว้ อย่าอ้างเอาความคิดเห็นหรือวิธีการที่ผู้อื่นเสนอว่าเป็นของตน
24. อย่าเป็นคนโลเลหรือเปลี่ยนใจบ่อยๆ
25. ต้องเป็นผู้สั่งและอำนวยการที่ดี
26. จงเป็นผู้นำ ของผู้ใต้บังคับบัญชา มิใช่ผู้ถือแส้คุมอยู่เบื้องหลัง
27. ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
นางสาวหทัยทิพย์ พรายแก้ว รหัส 5210125401070 การจัดการทั่วไปปี 4
อ้างอิงจาก หนังสือ การบริหารทักษะ และ การปฏิบัติ โดย เอกชัย กี่สุขพันธ์ พ.ศ.2530

blueheart กล่าวว่า...

ศิลปะการเป็นผู้นำที่ดี
1. ต้องซาบซึ้งถึงนโยบาย อำนาจหน้าที่และกิจการงานในหน่วยงานของตน
2. ต้องมีแผนในการดำเนินงาน และหมั่นเอาใจใส่ปรับปรุงอยู่เสมอ
3. ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4. ต้องจัดให้มีระบบการติดต่อกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
5. ต้องรู้จักใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
6. ต้องมีความซื่อสัตย์
7. ต้องติดตามงานอยู่เสมอ
8. ต้องรู้จักพิจารณาลำดับความสำคัญของงาน งานด่วนต้องรีบทำก่อน
9. ต้องเป็นผู้มีพรหมวิหารสี่
10. ต้องมีความยุติธรรม
11. ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา
12. ต้องหมั่นอบรมผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความสามารถในการทำงาน
13. ต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความคิดริเริ่มด้วย
14. ต้องกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น และหาทางปรับปรุงงานของหน่วยงานของตนอยู่เสมอ
15. ต้องเป็นคนใจกว้างและมีใจหนักแน่นต่อสภาวการณ์ และคำพูดที่ขัดแย้ง หรือที่ไม่เป็นมิตร
16. อย่าเป็นคนหูเบา ต้องฟังความเห็นทุกด้านก่อน แล้วจึงสั่งการหรือปฏิบัติการ แต่อย่าเมินต่อข่าวลือหรือคำบอกกล่าว
17. ต้องเป็นผู้ที่กล้ายอมรับผิด
18. ต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชา
19. ต้องขยันในงาน อุทิศเวลาให้แก่หน้าที่การงาน
20. จงยกย่องชมเชยผู้กระทำดี และควรทำต่อหน้าผู้อื่นเมื่อมีโอกาส
21. จงดุ หรือ เล่นงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
22. ต้องแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นว่า ความก้าวหน้าของเขาขึ้นอยู่กับผลแห่งการปฏิบัติงานของเขามากกว่าสิ่งอื่นใด
23. ต้องให้เกียรติผู้ที่เสนอความคิดเห็นหรือวิธีการไว้ อย่าอ้างเอาความคิดเห็นหรือวิธีการที่ผู้อื่นเสนอว่าเป็นของตน
24. อย่าเป็นคนโลเลหรือเปลี่ยนใจบ่อยๆ
25. ต้องเป็นผู้สั่งและอำนวยการที่ดี
26. จงเป็นผู้นำ ของผู้ใต้บังคับบัญชา มิใช่ผู้ถือแส้คุมอยู่เบื้องหลัง
27. ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
นางสาวหทัยทิพย์ พรายแก้ว รหัส 5210125401070 การจัดการทั่วไปปี 4
อ้างอิงจาก หนังสือ การบริหารทักษะ และ การปฏิบัติ โดย เอกชัย กี่สุขพันธ์ พ.ศ.2530

blueheart กล่าวว่า...

ศิลปะการเป็นผู้นำที่ดี
1. ต้องซาบซึ้งถึงนโยบาย อำนาจหน้าที่และกิจการงานในหน่วยงานของตน
2. ต้องมีแผนในการดำเนินงาน และหมั่นเอาใจใส่ปรับปรุงอยู่เสมอ
3. ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4. ต้องจัดให้มีระบบการติดต่อกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
5. ต้องรู้จักใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
6. ต้องมีความซื่อสัตย์
7. ต้องติดตามงานอยู่เสมอ
8. ต้องรู้จักพิจารณาลำดับความสำคัญของงาน งานด่วนต้องรีบทำก่อน
9. ต้องเป็นผู้มีพรหมวิหารสี่
10. ต้องมีความยุติธรรม
11. ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา
12. ต้องหมั่นอบรมผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความสามารถในการทำงาน
13. ต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความคิดริเริ่มด้วย
14. ต้องกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น และหาทางปรับปรุงงานของหน่วยงานของตนอยู่เสมอ
15. ต้องเป็นคนใจกว้างและมีใจหนักแน่นต่อสภาวการณ์ และคำพูดที่ขัดแย้ง หรือที่ไม่เป็นมิตร
16. อย่าเป็นคนหูเบา ต้องฟังความเห็นทุกด้านก่อน แล้วจึงสั่งการหรือปฏิบัติการ แต่อย่าเมินต่อข่าวลือหรือคำบอกกล่าว
17. ต้องเป็นผู้ที่กล้ายอมรับผิด
18. ต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชา
19. ต้องขยันในงาน อุทิศเวลาให้แก่หน้าที่การงาน
20. จงยกย่องชมเชยผู้กระทำดี และควรทำต่อหน้าผู้อื่นเมื่อมีโอกาส
21. จงดุ หรือ เล่นงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
22. ต้องแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นว่า ความก้าวหน้าของเขาขึ้นอยู่กับผลแห่งการปฏิบัติงานของเขามากกว่าสิ่งอื่นใด
23. ต้องให้เกียรติผู้ที่เสนอความคิดเห็นหรือวิธีการไว้ อย่าอ้างเอาความคิดเห็นหรือวิธีการที่ผู้อื่นเสนอว่าเป็นของตน
24. อย่าเป็นคนโลเลหรือเปลี่ยนใจบ่อยๆ
25. ต้องเป็นผู้สั่งและอำนวยการที่ดี
26. จงเป็นผู้นำ ของผู้ใต้บังคับบัญชา มิใช่ผู้ถือแส้คุมอยู่เบื้องหลัง
27. ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
นางสาวหทัยทิพย์ พรายแก้ว รหัส 5210125401070 การจัดการทั่วไปปี 4
อ้างอิงจาก หนังสือ การบริหารทักษะ และ การปฏิบัติ โดย เอกชัย กี่สุขพันธ์ พ.ศ.2530

blueheart กล่าวว่า...

ศิลปะการเป็นผู้นำที่ดี
1. ต้องซาบซึ้งถึงนโยบาย อำนาจหน้าที่และกิจการงานในหน่วยงานของตน
2. ต้องมีแผนในการดำเนินงาน และหมั่นเอาใจใส่ปรับปรุงอยู่เสมอ
3. ต้องหมั่นศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4. ต้องจัดให้มีระบบการติดต่อกับผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
5. ต้องรู้จักใช้คนให้เหมาะสมกับงาน
6. ต้องมีความซื่อสัตย์
7. ต้องติดตามงานอยู่เสมอ
8. ต้องรู้จักพิจารณาลำดับความสำคัญของงาน งานด่วนต้องรีบทำก่อน
9. ต้องเป็นผู้มีพรหมวิหารสี่
10. ต้องมีความยุติธรรม
11. ต้องเป็นคนตรงต่อเวลา
12. ต้องหมั่นอบรมผู้ใต้บังคับบัญชาให้มีความสามารถในการทำงาน
13. ต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความคิดริเริ่มด้วย
14. ต้องกระตุ้นและสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแสดงความคิดเห็น และหาทางปรับปรุงงานของหน่วยงานของตนอยู่เสมอ
15. ต้องเป็นคนใจกว้างและมีใจหนักแน่นต่อสภาวการณ์ และคำพูดที่ขัดแย้ง หรือที่ไม่เป็นมิตร
16. อย่าเป็นคนหูเบา ต้องฟังความเห็นทุกด้านก่อน แล้วจึงสั่งการหรือปฏิบัติการ แต่อย่าเมินต่อข่าวลือหรือคำบอกกล่าว
17. ต้องเป็นผู้ที่กล้ายอมรับผิด
18. ต้องให้ความสนใจ และเอาใจใส่ในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชา
19. ต้องขยันในงาน อุทิศเวลาให้แก่หน้าที่การงาน
20. จงยกย่องชมเชยผู้กระทำดี และควรทำต่อหน้าผู้อื่นเมื่อมีโอกาส
21. จงดุ หรือ เล่นงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเงียบๆ อย่าให้ใครได้ยิน
22. ต้องแสดงให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเห็นว่า ความก้าวหน้าของเขาขึ้นอยู่กับผลแห่งการปฏิบัติงานของเขามากกว่าสิ่งอื่นใด
23. ต้องให้เกียรติผู้ที่เสนอความคิดเห็นหรือวิธีการไว้ อย่าอ้างเอาความคิดเห็นหรือวิธีการที่ผู้อื่นเสนอว่าเป็นของตน
24. อย่าเป็นคนโลเลหรือเปลี่ยนใจบ่อยๆ
25. ต้องเป็นผู้สั่งและอำนวยการที่ดี
26. จงเป็นผู้นำ ของผู้ใต้บังคับบัญชา มิใช่ผู้ถือแส้คุมอยู่เบื้องหลัง
27. ต้องประพฤติตนให้เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
นางสาวหทัยทิพย์ พรายแก้ว รหัส 5210125401070 การจัดการทั่วไปปี 4
อ้างอิงจาก หนังสือ การบริหารทักษะ และ การปฏิบัติ โดย เอกชัย กี่สุขพันธ์ พ.ศ.2530

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวสายฝน โป่งมะณี รหัส 5210125401003 เอกการจัดการทั่วไป ปี4

บทที่ 4 แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
คุณสมบัติหลักการแห่งการเป็นผู้นำ โดย John.C.Maxwell
1.ผู้นำต้องเป็นคนมีวิสัยทัศน์ ต้องมองไปถึงอนาคต และเห็นจุดมุ่งหมายอย่างชัดเจน
2.ผู้นำต้องใฝ่รู้ ต้องไม่ล้าช้า ติดตามเรียนรุ้ให้ทันการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
3.ผู้นำต้องเป็นผู้รับใช้ที่ดี เรียนรุ้การปฏิบัติจากผู้อื่น
4.ผู้นำต้องมีวินัยในตนเอง เพื่อเป็นตัวอย่างในการสร้างวินัยให้กับองค์กร
5.ผู้นำต้องเป็นผู้มั่นคงในหลักการ อุดมการณ์ไม่หวั่นไหวต่อสถานการณ์
6.ผู้นำต้องเป็นคนกล้ารับผิดชอบผลที่เกิดจากการตัดสินใจ
7.ผู้นำต้องเป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ทำให้การทำงานเกิดความราบรื่น
8.ผู้นำต้องเป็นคนรู้จักแก้ปัญหาทั้งระยะสั้นระยะยาวถ้ารู้ว่ามีปัญหาต้องรับแก้ไม่ปล่อยให้ปัญหาคงค้าง
9.ผู้นำต้องเป็นผู้มีทัศนคติทีดีในการทำงานต้องเชื่อว่าทำได้
10.ผู้นำต้องมีใจรักในงาน รักผู้ร่วมงาน รักผู้เกี่ยวข้องในงาน รักผู้รับบริการ รักตนเองเข้าใจตนเอง
11.ผู้นำต้องมีคุณธรรม เชื่อมั่นในหลักคุณธรรม
12.ผู้นำต้องเสน่ห์ บุคลิกดี ความประทับใจแรกพบช่วยให้งานประสบความสำเร็จได้ง่าย
13.ผู้นำต้องทุ่มเท เชื่อมั่นในสิ่งที่ทำ หากไม่ทุ่มเทจะเป็นเพียงนักฝัน
14.ผู้นำต้องรู้จักการสื่อสารที่ดี มีความสามารถสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนเองคิด ทำเรื่องยากให้ง่าย
15.ผู้นำต้องเป็นคนมีประสิทธิภาพ ทำงานอย่างมีหลักวิชาการให้เกิดความสำเร็จ
16.ผู้นำต้องกล้าหาญ ทำในสิ่งที่ถูกต้องกล้าคัดค้านในสิ่งผิด
17.ผู้นำต้องมีวิจารณญาณที่ดี รู้จักวิเคราะห์ตัดสินใจถูกต้อง
18.ผู้นำต้องมีความแจ่มชัดในทุกด้าน
19.ผู้นำต้องเป็นคนมีน้ำใจ
20.ผู้นำต้องเป็นคนมีความคิดริเริ่มในสิ่งใหม่ๆ
21.ผู้นำต้องเป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อเข้าถึงจิตใจคน

อ้างอิง รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม.องค์การและการจักการ.กรุงเทพฯ.พิมพ์ฉบับที่4.2550

Unknown กล่าวว่า...

คุณลักษณะของภาวะผู้นำ
ฮอดเกตต์ส ( Hodgetts, 1999, pp. 256-258) ได้แสดงแนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับคุณลักษณะของภาวะผู้นำว่า ]yกษณะพิเศษหลายประการที่ปรากฏในตัวบุคคลจะมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ แต่ถ้าพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วยแล้วจะพบว่า คุณลักษณะพิเศษของบุคคลที่จะมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างภาวะผู้นำดังกล่าวมีดังนี้
1. การมีสติปัญญาเหนือผู้อื่น (Superior intelligence) จากการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้นำที่ประสบความสำเร็จในการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพส่วนใหญ่จะมีระดับสติปัญญาสูง ส่วนผู้นำที่มีระดับความสามารถทางสมองต่ำ จะประสบความสำเร็จในการบริหารงานอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยนักวิจับหลายทางต่างยืนยันว่าผู้นำที่จะสามารถประสบความสำเร็จจะต้องมีระดับเชาว์ปัญญาเกณฑ์ระหว่าง 115 ถึง 130 อย่างไรก็ตาม ฮอดเกตต์ส ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ผู้นำบางคนมีศักยภาพสูง มีสติปัญญาดี อาจมีความสามรถทางด้านหนึ่งแต่อาจจะบกพร่องในงานแขนงอื่นๆ ได้เช่นกัน
2. การมีความมั่นคงทางอารมณ์ (Emotional maturity) ผู้นำที่ดีจะต้องมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ นั่นคือ จะต้องเป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถในการวินิจฉัยสั่งการและมีความยุติธรรม ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ในกรณีที่เกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน ผู้นำที่ดีก็จะต้องเป็นที่พึ่ง ที่ปรึกษาในคำแนะนำได้ ผู้นำควรตระหนักว่าปัญหาเล็กๆ บางอย่างหากผู้นำมองข้ามไป อาจเป็นสาเหตุของปัญหาใหญ่ที่จะตามมาในอนาคต โดยเฉพาะผู้ใต้บังคับบัญชาที่ยึดถือความถูกต้องและมุ่งมั่นที่จะประสบความสำเร็จในงานตามวัตถุประสงค์ขององค์การ
3. การรู้จักใช้แรงจูงใจ (Motivation drive) ผู้นำที่ดีจะต้องรู้ว่าการจูงใจเป็นภาวะความต้องการภายในจิตใจของบุคคล โดยธรรมชาติคนต้องการรางวัล ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน การเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง และการมีผู้ใต้บังคับบัญชาที่ชาญฉลาดเพิ่มมากขึ้น สิ่งดังกล่าวสามารถกระตุ้นหรือเร้าเพื่อช่วยให้บุคคลเกิดพฤติกรรมต่างๆ ที่จะทำให้งานที่ตนรับผิดชอบประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมาย การจูงใจสามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมในการปฏิบัติงานด้วยความใส่ใจขยันทำงานด้วยใจจดจ่อ กระตือรือร้นและสนุกกับการทำงาน ทั้งยังอุทิศเวลา แรงการ แรงใจ และสติปัญญาโดยมีความสำนึกในหน้าที่รับผิดชอบควบคู่กันไปด้วย และช่วยให้เกิดพลังอำนาจภายในที่จะทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การมีทักษะในการแก้ไขปัญหา (Problem-eolving skills) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จมักจะเป็นผู้นำที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาต่างๆ ด้วย โดยที่จะมองว่าปัญหาคือสิ่งที่ท้าทายและเป็นโอกาสที่จะได้พิสูจน์ถึงความสามารถในการจัดการของตนเอง
5. การมีทักษะด้านการบริหาร (Managerial or Administrative skills) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จโดยเฉพาะผู้นำตามลำดับสายการบังคับบัญชา จะต้องมีทักษะการบริหารเกี่ยวกับทักษะด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
5.1 ทักษะทางด้านเทคนิค เป็นความรู้ความชำนาญในระดับปฏิบัติการ โดยจะต้องรู้ว่างานแต่
ละงานจะต้องปฏิบัติอย่างไร ซึ่งทักษะทางด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับต้น อันได้แก่ ผู้ควบคุมงาน
5.2 ทักษะทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ เป็นความรู้เกี่ยวกับการมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่ง
ทักษะด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับการ ผู้ซึ่งจะต้องทำหน้าที่ประสานงานกับฝ่ายอื่นๆ
5.3 ทักษะทางด้านความคิดรวบยอด เป็นความรู้เกี่ยวกับการจัดการในทุกด้านขององค์การ
เพื่อให้ทุกฝ่ายขององค์การประสานเข้าด้วยกัน ทักษะนี้ครอบคลุมถึงกิจกรรมทั้งมวล นโยบาย ยุทธวิธีการทำงาน เทคนิคการพัฒนาการจัดระบบการทำงาน ตลอดจนการควบคุมประสานงาน ซึ่งทักษะด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับสูง
อ้างอิง : ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม ยงยุทธ เกษสาคร ปี 2541 หน้า 66-68

นางสาววัชรี ทองห่อ รหัส 5210125401052 เอก การจัดการทั่วไป

Unknown กล่าวว่า...

คุณลักษณะของภาวะผู้นำ
ฮอดเกตต์ส ( Hodgetts, 1999, pp. 256-258) ได้แสดงแนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับคุณลักษณะของภาวะผู้นำว่า ]yกษณะพิเศษหลายประการที่ปรากฏในตัวบุคคลจะมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ แต่ถ้าพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วยแล้วจะพบว่า คุณลักษณะพิเศษของบุคคลที่จะมีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างภาวะผู้นำดังกล่าวมีดังนี้
1. การมีสติปัญญาเหนือผู้อื่น (Superior intelligence) จากการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้นำที่ประสบความสำเร็จในการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพส่วนใหญ่จะมีระดับสติปัญญาสูง ส่วนผู้นำที่มีระดับความสามารถทางสมองต่ำ จะประสบความสำเร็จในการบริหารงานอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยนักวิจับหลายทางต่างยืนยันว่าผู้นำที่จะสามารถประสบความสำเร็จจะต้องมีระดับเชาว์ปัญญาเกณฑ์ระหว่าง 115 ถึง 130 อย่างไรก็ตาม ฮอดเกตต์ส ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ผู้นำบางคนมีศักยภาพสูง มีสติปัญญาดี อาจมีความสามรถทางด้านหนึ่งแต่อาจจะบกพร่องในงานแขนงอื่นๆ ได้เช่นกัน
2. การมีความมั่นคงทางอารมณ์ (Emotional maturity) ผู้นำที่ดีจะต้องมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ นั่นคือ จะต้องเป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถในการวินิจฉัยสั่งการและมีความยุติธรรม ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ในกรณีที่เกิดปัญหาในการปฏิบัติงาน ผู้นำที่ดีก็จะต้องเป็นที่พึ่ง ที่ปรึกษาในคำแนะนำได้ ผู้นำควรตระหนักว่าปัญหาเล็กๆ บางอย่างหากผู้นำมองข้ามไป อาจเป็นสาเหตุของปัญหาใหญ่ที่จะตามมาในอนาคต โดยเฉพาะผู้ใต้บังคับบัญชาที่ยึดถือความถูกต้องและมุ่งมั่นที่จะประสบความสำเร็จในงานตามวัตถุประสงค์ขององค์การ
3. การรู้จักใช้แรงจูงใจ (Motivation drive) ผู้นำที่ดีจะต้องรู้ว่าการจูงใจเป็นภาวะความต้องการภายในจิตใจของบุคคล โดยธรรมชาติคนต้องการรางวัล ความก้าวหน้าในอาชีพการงาน การเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง และการมีผู้ใต้บังคับบัญชาที่ชาญฉลาดเพิ่มมากขึ้น สิ่งดังกล่าวสามารถกระตุ้นหรือเร้าเพื่อช่วยให้บุคคลเกิดพฤติกรรมต่างๆ ที่จะทำให้งานที่ตนรับผิดชอบประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมาย การจูงใจสามารถกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมในการปฏิบัติงานด้วยความใส่ใจขยันทำงานด้วยใจจดจ่อ กระตือรือร้นและสนุกกับการทำงาน ทั้งยังอุทิศเวลา แรงการ แรงใจ และสติปัญญาโดยมีความสำนึกในหน้าที่รับผิดชอบควบคู่กันไปด้วย และช่วยให้เกิดพลังอำนาจภายในที่จะทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. การมีทักษะในการแก้ไขปัญหา (Problem-eolving skills) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จมักจะเป็นผู้นำที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาต่างๆ ด้วย โดยที่จะมองว่าปัญหาคือสิ่งที่ท้าทายและเป็นโอกาสที่จะได้พิสูจน์ถึงความสามารถในการจัดการของตนเอง
5. การมีทักษะด้านการบริหาร (Managerial or Administrative skills) ผู้นำที่ประสบความสำเร็จโดยเฉพาะผู้นำตามลำดับสายการบังคับบัญชา จะต้องมีทักษะการบริหารเกี่ยวกับทักษะด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
5.1 ทักษะทางด้านเทคนิค เป็นความรู้ความชำนาญในระดับปฏิบัติการ โดยจะต้องรู้ว่างานแต่
ละงานจะต้องปฏิบัติอย่างไร ซึ่งทักษะทางด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับต้น อันได้แก่ ผู้ควบคุมงาน
5.2 ทักษะทางด้านมนุษย์สัมพันธ์ เป็นความรู้เกี่ยวกับการมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่ง
ทักษะด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับการ ผู้ซึ่งจะต้องทำหน้าที่ประสานงานกับฝ่ายอื่นๆ
5.3 ทักษะทางด้านความคิดรวบยอด เป็นความรู้เกี่ยวกับการจัดการในทุกด้านขององค์การ
เพื่อให้ทุกฝ่ายขององค์การประสานเข้าด้วยกัน ทักษะนี้ครอบคลุมถึงกิจกรรมทั้งมวล นโยบาย ยุทธวิธีการทำงาน เทคนิคการพัฒนาการจัดระบบการทำงาน ตลอดจนการควบคุมประสานงาน ซึ่งทักษะด้านนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้บริหารระดับสูง
อ้างอิง : ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม ยงยุทธ เกษสาคร ปี 2541 หน้า 66-68

นางสาววัชรี ทองห่อ รหัส 5210125401052 เอก การจัดการทั่วไป

ThanaKrit Ahcwapadid กล่าวว่า...

นายธนกฤต อาชีวะประดิษฐ การจัดการทั่วไป 053
แนวคิด และทฤษฎีการบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้งถือเป็นเรื่องปรกติของการอยู่ในสังคม ไม่ว่าสังคมจะเป็นสังคมครอบครัว สังคมเพื่อน สังคมการทำงาน ยิ่งสังคมมีขนาดใหญ่มากขึ้น ยิ่งมีโอกาสที่จะเกิดความขัดแย้งได้มากยิ่งขึ้น แต่ความขัดแย้งไม่ใช่สิ่งที่แย่เสมอไป วันนี้เรามาลองดูกันว่าจะสามารถใช้ความขัดแย้งให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไร โดยพิจารณาจากทฤษฎีการบริหารความขัดแย้งภายในองค์กร

1. แนวคิดสมัยดั้งเดิม (Traditional View) ความขัดแย้งเป็นสิ่งไม่ดี หากหลีกเลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยง ผู้บริหารจะต้องกำจัดความขัดแย้งขององค์การ โดยการออกกฎระเบียบ กระบวนการที่เข้มงวด เพื่อที่จะทำให้ความขัดแย้งหมดไป

2. แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations View) จะสนับสนุนการยอมรับความขัดแย้ง และความขัดแย้งอาจจะมีประโยชน์ต่อภายในองค์การได้บ้างในบางเวลา

3. แนวคิดสมัยใหม่ (Contemporary View) จะสนับสนุนความขัดแย้งบนรากฐานที่ว่า องค์การที่มีความสามัคคี ความสงบสุข ความเงียบสงบ และมีความร่วมมือ หากไม่ยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้น จากความขัดแย้ง การให้ความร่วมมือแก่องค์การจะกลายเป็นความเฉื่อยชา อยู่เฉย และไม่ตอบสนองต่อความต้องการเพื่อการเปลี่ยนแปลงและการคิดค้นใหม่ๆ

Filley (1975) ได้เสนอกระบวนการของความขัดแย้ง โดยแบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. สภาพก่อนเกิดความขัดแย้ง (Antecedent Condition of Conflict) เป็นลักษณะของสภาพการณ์ที่อาจปราศจากความขัดแย้ง แต่จะนำไปสู่การขัดแย้ง

2. ความขัดแย้งที่รับรู้ได้ (Perceived Conflict) เป็นการรับรู้จากสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นของฝ่ายต่าง ๆ ว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น

3. ความขัดแย้งที่รู้สึกได้ (Felt Conflict) โดยอาจมีความรู้สึกว่า ถูกคุกคาม ถูกเกลียดชัง กลัว หรือไม่ไว้วางใจ

4. พฤติกรรมที่ปรากฏชัด (Minifest Behavior) อาจแสดงความก้าวร้าว การแข่งขัน การโต้เถียงหรือการแก้ปัญหา

5. การแก้ปัญหาหรือระงับความขัดแย้ง (Conflict Resolution or Supervision วิธีการแก้ไขความขัดแย้งมี 4 วิธี ได้แก่
5.1 วิธีชนะ-แพ้ (Win-Lose Method)
5.2 วิธีแพ้ทั้งคู่ (Lose-Lose methods)
5.3 วิธีการที่ทั้งสองฝ่ายเป็นผู้ชนะ (Win-Win methods)
5.4 วิธีการแก้ไขปัญหาร่วมกัน หรือแบบชนะทั้งคู่ (Win-Win Method)

Unknown กล่าวว่า...

น.ส.วรรณภา ปั้นนาค รหัส 5210125401038 เอกการจัดการทั่วไป ปี 4 ภาคปกติ
ภาวะผู้นำตามสถานการณ์ตามแนวคิดของเฟรดเลอร์ (Fiedler's Contingency Theory)
(สัปดาห์ที่ 6 ทฤษฎีผู้นำที่เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมใน)
เฟรด อี เฟรดเลอร์ (Fied E.Fiedler) ได้นำเสนอแนวคิดภาวะผู้นำที่ดีขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและสอดคล้องระหว่างสไตล์ผู้นำกับความจำเป็นตามสถานการณ์ Fiedler ได้นำพื้นฐานของแนวคิดความยืดหยุ่นของผู้นำ (Leader Flexibity) มาใช้โดยการสร้างเครื่องมือที่เรียกว่า "Peast Preferred Co-worker: PLC" สำหรับใช้ในการประเมินตนเอง โดยสามารถใช้เครื่องมือเป็นแบบสอบถามจำนวน 16 ข้อในการสอบถามบุคคลที่ต้องการทำงานด้วย โดยข้อคำถามมีลักษณะเน้นไปทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ การคิดค้นและการนำเสนอแนวคิดของ Fiedler พบว่าผู้นำที่จะประสบความสำเร็จได้ต้องรูปจักปรับเปลี่ยนรูปแบบภาวะผู้นำซึ่งเป็นบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลให้เหมาะสมตามสถานการณ์ภายในองค์การ ทั้งนี้ ต้องทำการปรับเปลี่ยนรูปแบบภาวะผู้นำไปตามสถานการณ์ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์
Fiedler ได้จำแนกผู้นำออกเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่
1.ผู้นำแบบมุ่งงาน (Task-oriented Leader) เน้นการสั่งงาน กำหนดเส้นตายในการทำงาน มอบหมายงาน กำหนดโครงสร้างการทำงาน เป็นต้น
2.ผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ (Relationship-oriented Leader) ที่ไม่ได้เน้นการสั่งงานแต่มุ่งเรื่องคนและปฏิกิริยาทางสังคม แม้ว่าแนวคิดของ Fiedler จะคล้ายคลึงกับทฤษฎีพฤติกรรมแต่ในความแตกต่าง Fiedler เห็นว่า "เป็นการยากที่จะเปลี่ยนรูปแบบภาวะผู้นำโดยเฉพาะ" ส่วนทฤษฎีพฤติกรรมเห็นว่า "ผู้นำมีแบบพฤติกรรมให้เลือก"


อ้างอิงจาก อนิวัช แก้วจำนงค์. (2552). หลักการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา. (หน้า 209).

Unknown กล่าวว่า...

ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064

ทักษะของผู้นำ
ทักษะที่ผู้นำควรมี ดังต่อไปนี้
1.ทักษะด้านการจัดการ เนื่องจากผู้นำทุกคนจำเป็นต้องบริหารงานภายในองค์การ เช่น การกำหนดนโยบาย กำหนดแผนปฏิบัติการประจำปี หรือร่วมอยู่ในคณะกรรมการการติดตามประเมินผลงานต่างๆ ดังนั้นทักษะด้านการจัดการ เช่น ทักษะในการวางแผน การประสานงาน การควบคุมงาน จึงเป็นสิ่งสิ่งที่ผู้นำจำเป็นต้องมี
2.ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์เป็นสิ่งสำคัญมากสิ่งหนึ่งสำหรับผู้นำ เพราะผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่ต้องติดต่อเกี่ยวกับคนอื่นไม่ว่าจะเป็นหน้าที่ทางด้านประสานประโยชน์หรือขจัดข้อขัดแย้งระหว่างบุคคลในหน่อยงาน มนุษยสัมพันธ์อาจแสดงออกมาในรูปแบบต่างๆ เช่น ความสามารถในการเข้ากับผู้อื่นได้ ความช่วยเหลือ ความร่วมมือ ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น เป็นต้น
3.ทักษะด้านการจูงใจ เนื่องจากผู้นำต้องทำน้าที่ชักจูงและกระตุ้นให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาทุ่มเทการทำงานให้แก่หน่วยงาน ดังนั้น ทักษะการจูงใจจึงเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ผู้นำควรจะมี การจูงใจอาจแสดงออกมาในรูปของการเป็นตัวอย่างที่ดี การวางตัวที่เหมาะสม การตอบแทนหรือให้รางวัลที่เป็นไปอย่างยุติธรรมและจริงใจหรืออาจเป็นเพียงการให้กำลังใจด้วยคำชมในเวลาที่เหมาะสม การจูงใจที่กระทำไปด้วยความจริงใจและเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ร่วมงานเกิดขวัญกำลังใจ ไม่ท้อแท้เบื่อหน่าย เห็นความสำคัญของตนเองและงานที่ทำเกิดพลังและความตั้งใจที่จะเอาชนะปัญหาและอุปสรรคต่อไป ท้ายที่สุดจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้สำเร็จสมตามความมุ่งหมายที่ผู้นำคาดหวังไว้
4.ทักษะด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นความสามารถพื้นฐานที่ผู้นำจะต้องมีอยู่ก่อนจึงจะศรัทธาให้เกิดทักษะอื่นๆได้ เพราะในการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้อื่นสิ่งแรกๆที่มักจะต้องทำก่อนที่จะจูงใจหรือสร้างความศรัทธาให้เกิดขึ้นได้คือการสื่อสารให้ผู้ร่วมงานเข้าใจในหลักความคิดเป้าหมายและความต้องการของตัวผู้นำเอง จุดนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ เพราะอุดมการณ์ ความคิด และนโยบายของผู้นำมักจะเป็นปัจจัยหนึ่งที่ดึงดูดให้ผู้ตามเกิดการยอมรับและให้การสนับสนุนในเวลา
5.ทักษะด้านการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา สืบค้นหาสาเหตุและแนวทางแก้ไข พร้อมทั้งตัดสินใจแก้ปัญหาโดยเลือกแนวทางที่ให้ประโยชน์แก่องค์การมากที่สุด ทักษะด้านนี้จึงต้องอาศัยทั้งสติปัญญาความรู้ และการฝึกฝนจากประสบการณ์จนเกิดความชำชาญ เนื่องจากผู้นำมีหน้าที่สำคัญที่จะต้องเข้ามาโอบอุ้มหรือช่วยแก้ปัญหาให้แก่องค์การ เมื่อองค์การประสบภาวะคับขัน
6.ทักษะด้านเทคโนโลยี หมายถึง ความสามารถในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับสภาพของหน่อยงาน เนื่องจากการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันเป็นเรื่องของการแข่งขันในเรื่อเวลาประสิทธิภาพการทำงานและความรวดเร็วของข้อมูล ข่าวสาร ดังนั้นผู้นำจึงควรรู้จักช่วงชิงความได้เปรียบการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆที่เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณของงาน รวมถึงรายได้ของบริษัท รวมทั้งผู้นำต้องรู้จักเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนำมาประยุกต์ใช้ได้เหมาะสมกับหน่อยงาน
7.ทักษะในการเจรจาต่อรอง หมายถึง ความสามารถในการต่อรองไกล่เกลี่ย และจัดสรรผลประโยชน์ระหว่างบุคคลและหน่อยงานต่างๆเนื่องจากตำแหน่งและงบประมาณต่างๆทั้งภายในหน่อยงานและระหว่างหน่อยงานมักมีน้อยกว่าความต้องการ บุคคลบางคนหรือหน่วยงานบางแห่งจึงใช้วิธีการต่างๆเพื่อแข่งขันและแสวงหาผลประโยชน์เพื่อให้ฝ่ายต่างๆพอใจหรือผิดหวังน้อยที่สุด ทักษะในการเจรจาต่อรองจึงเป็นเรื่องสำคัญที่กระทบถึงขวัญและกำลังใจของผู้ปฏิบัติงาน

ตัวอย่างผู้นำ
คุณธนินท์ เจียรวนนท์ ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเจริญโภคภัณฑ์ หรือ CPF
ทฤษฎีของคุณธนินท์ คือ ทฤษฎีสองสูง คือ รายได้สูง รายจ่ายสูง
ทฤษฎีสองสูง ทำให้ประชาชนมีทางเลือก มีเงิน การพัฒนาด้านเทคโนโลยีก็เกิดขึ้น และในที่สุดราคาสินค้าเกษตร จะถูกลงมาเองตามธรรมชาติ อย่างเมื่อก่อนไก่เป็นอาหารคนรวย แต่ตอนนี้ไก่กลับมีราคาถูกกว่าหมู เนื่องจากรัฐบาลไม่เข้าไปแทรกแซงราคา ทำให้มีการพัฒนาเทคโนโลยี ต้นทุนต่ำลง คนกล้าลงทุนมากขึ้น
เรื่องคนของคุณธนินท์
คุณธนินท์มักกล่าวกับผู้บริหารและผู้ร่วมงานในเครือฯอยู่เสมอว่า
"คนที่จะเป็นผู้บริหารระดับสูงไม่ควรมองที่ จุดด้อยของคนอื่น แล้วมองแต่จุดเด่นของตัวเอง เพราะว่าถ้าพยายามมองจุดด้อยของคนอื่น ก็จะคิดว่าตัวเองเก่งอยู่ทุกครั้งทุกทีไป จึงไม่ได้มีความพยายามปรับตัว เราต้องมองจุดเด่นของคนอื่น แล้วหาทางใช้จุดเด่นของเขาให้เป็นประโยชน์ จึงสามารถทำงานใหญ่ได้"

อ้างอิง : สมคิด บางโม. (2550). องค์การและการจัดการ.พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์

Unknown กล่าวว่า...

ผู้นำตามสถานการณ์ของฟิดเลอร์
แนวคิดทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์ของฟิดเลอร์ คือ ความยืดหยุ่นของผู้นำ (Leader flexibility) หมายถึง ผู้นำที่ประสบความสำเร็จจะต้องเปลี่ยนรูปแบบความเป็นผู้นำเมื่อเผชิญสถานการณ์ที่แตกต่างกัน โดยผู้นำประยุกต์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์นี้ให้ความสำคัญกับตัวแปรสำคัญที่เป็นตัวกำหนดถึงสถานการณ์ด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ใต้บังคับบัญชา (Leader-member relations) หมายถึง ความรู้สึกของพนักงานในการยอมรับในตัวผู้นำ
2. โครงสร้างของงาน (Task structure) หมายถึง เป้าหมายของงานที่จะต้องทำการกำหนดหน้าที่งาน
3. การใช้อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง (Position power) หมายถึง ผู้นำเป็นผู้ให้คุณให้โทษแก่พนักงานได้
อ้างอิง : การจัดการสมัยใหม่, ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนตร์พัณณา ยาวิราช, ปี 2546, หน้า 123-124
นางสาววัชรี ทองห่อ รหัส 5210125401052 การจัดการทั่วไป

Unknown กล่าวว่า...

ผู้นำตามสถานการณ์ของฟิดเลอร์
แนวคิดทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์ของฟิดเลอร์ คือ ความยืดหยุ่นของผู้นำ (Leader flexibility) หมายถึง ผู้นำที่ประสบความสำเร็จจะต้องเปลี่ยนรูปแบบความเป็นผู้นำเมื่อเผชิญสถานการณ์ที่แตกต่างกัน โดยผู้นำประยุกต์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ทฤษฎีผู้นำตามสถานการณ์นี้ให้ความสำคัญกับตัวแปรสำคัญที่เป็นตัวกำหนดถึงสถานการณ์ด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับผู้ใต้บังคับบัญชา (Leader-member relations) หมายถึง ความรู้สึกของพนักงานในการยอมรับในตัวผู้นำ
2. โครงสร้างของงาน (Task structure) หมายถึง เป้าหมายของงานที่จะต้องทำการกำหนดหน้าที่งาน
3. การใช้อำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง (Position power) หมายถึง ผู้นำเป็นผู้ให้คุณให้โทษแก่พนักงานได้
อ้างอิง : การจัดการสมัยใหม่, ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนตร์พัณณา ยาวิราช, ปี 2546, หน้า 123-124
นางสาววัชรี ทองห่อ รหัส 5210125401052 การจัดการทั่วไป

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

ทฤษฎีภาวะผู้นำแบบวิธีการแบบบรรลุเป้าหมาย
(เพิ่มเติม)
ทฤษฎีผู้นำแบบวิธีการกับการบรรลุเป้าหมาย
ผู้พัฒนาทฤษฎีนี้คือ Martin G Evans และ Robert J.House หลักสำคัญของทฤษฎีนี้คือ
เป็นพิ้นฐานพัฒนามาจากทฤษฎีความตาดหวัง สาระสำคัญของทฤษฎีภาวะผู้นำกับการบรรลุเป้าหมายเสนอแนะว่า ผู้นำที่มีประสิทธิภาพจะส่งผลให้การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชามีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยที่ผู้นำจะต้องสร้างความชัดเจน ด้านพฤติกรรมการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ที่เรียกว่าวิธีการทำงาน( path)ที่นำไปสู่รางวัลที่ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องการ เรียกว่า เป้าหมาย (goals)ในทางทฤษฎีพบว่าการที่บุคลากรจะได้รับรางวัลจากองค์การ ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ส่วนผู้นำจำกระทำการใดๆ ที่แตกต่างกันออกไปนั้น เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
นรินทร์ สรณานุภาพ 5130125401240

Unknown กล่าวว่า...

ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064

บทที่ 5 ทฤษฎีผู้นำที่เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ทฤษฎีความเป็นผู้นำเชิงสถานการณ์ : ทฤษฎีเส้นทางสู่เป้าหมาย

เป็นทฤษฎีเชิงสถานการณ์ซึ่งยึดถือว่าประสิทธิผลของผู้นำขึ้นกับความสามารถที่จะจูงใจและสร้างความพึงพอใจของพนักงานให้ทำงาน ทั้งหมดมีความสัมพันธ์เกี่ยวของกับ Martin G. Evans, Robert J. House และบุคคลอื่นซึ่งได้ขยายความ และทำให้ส่วนของทฤษฎีเส้นทางสู่เป้าหมายชัดเจนขึ้น โดยมีทฤษฎีความคาดหวังของการาจูงใจ พนักงานได้รับการกระตุ้นให้ทำงานถ้าเขาเชื่อว่าความพยายามจะนำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ได้รับมอบหมาย และถ้าเขาเชื่อว่าความสำเร็จในงานจะนำไปสู่รางวัลที่เขาพึงพอใจ
พฤติกรรมผู้นำ(Leader behavior) การขึ้นกับสถานการณ์ผู้นำจะยอมรับพฤติกรรมผู้นำ 4 ประการ คือ
1.ผู้นำแบบบงการ เป็นการบอกพนักงานถึงวิธีการที่ควรทำโดยจัดเตรียมรายละเอียดของงานที่มอบหมายและตารางการทำงาน กำหนดมาตรฐานการทำงานเฉพาะเอาไว้ พฤติกรรมนี้คลายคลึงกับการกำหนดโครงสร้างที่เริ่มจากตัวเองเป็นหลักและการมุ่งที่งาน

2.ผู้นำที่ให้การสนับสนุน เป็นผู้นำที่มุ่งความต้องการที่พนักงานและต้องการให้ความเป็นอยู่ที่ดีกับพนักงาน รวมทั้งการสร้างโอกาสและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่เป็นมิตร คล้ายคลึงกับพฤติกรรมที่คำนึงถึงผู้อื่นและการมุ่งความสัมพันธ์กันมีการฝึกอบรมการเป็นผู้นำ

3.ผู้นำแบบมีส่วนร่วม เป็นผู้นำที่ให้คำแนะนำกับพนักงาน การค้นหาความคิด และการกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

4.ผู้นำที่มุ่งที่ความสำเร็จ เป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและท้าทายสำหรับพนักงาน ผู้นำที่มุ่งที่ความสำเร็จได้มีการปรับปรุงการทำงานกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สร้างความเชื่อมั่นว่าพนักงานสามารถบรรลุมาตรฐานเหล่านั้น

ตัวแปรเชิงสถานการณ์ สามารถจัดกลุ่มเป็น 2 ประเภท คือ
1.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย โครงสร้างงาน ระบบอำนาจที่เป็นทางการขององค์การ และกลุ่มงาน ปัจจัยเหล่านี้จะสามารถสร้างความพึงพอใจและรู้สึกพอใจในงาน
2.ลักษณะผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน ซึ่งประกอบด้วย ทักษะและความต้องการของพนักงาน ผู้บริหารโดยทั่วไปจะปรับรูปแบบการเป็นผู้นำตามความสามารถของพนักงาน

อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์ . (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

Unknown กล่าวว่า...

ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064

บทที่ 5 ทฤษฎีผู้นำที่เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ทฤษฎีความเป็นผู้นำเชิงสถานการณ์ : ทฤษฎีเส้นทางสู่เป้าหมาย

เป็นทฤษฎีเชิงสถานการณ์ซึ่งยึดถือว่าประสิทธิผลของผู้นำขึ้นกับความสามารถที่จะจูงใจและสร้างความพึงพอใจของพนักงานให้ทำงาน ทั้งหมดมีความสัมพันธ์เกี่ยวของกับ Martin G. Evans, Robert J. House และบุคคลอื่นซึ่งได้ขยายความ และทำให้ส่วนของทฤษฎีเส้นทางสู่เป้าหมายชัดเจนขึ้น โดยมีทฤษฎีความคาดหวังของการาจูงใจ พนักงานได้รับการกระตุ้นให้ทำงานถ้าเขาเชื่อว่าความพยายามจะนำไปสู่ความสำเร็จในงานที่ได้รับมอบหมาย และถ้าเขาเชื่อว่าความสำเร็จในงานจะนำไปสู่รางวัลที่เขาพึงพอใจ
พฤติกรรมผู้นำ(Leader behavior) การขึ้นกับสถานการณ์ผู้นำจะยอมรับพฤติกรรมผู้นำ 4 ประการ คือ
1.ผู้นำแบบบงการ เป็นการบอกพนักงานถึงวิธีการที่ควรทำโดยจัดเตรียมรายละเอียดของงานที่มอบหมายและตารางการทำงาน กำหนดมาตรฐานการทำงานเฉพาะเอาไว้ พฤติกรรมนี้คลายคลึงกับการกำหนดโครงสร้างที่เริ่มจากตัวเองเป็นหลักและการมุ่งที่งาน

2.ผู้นำที่ให้การสนับสนุน เป็นผู้นำที่มุ่งความต้องการที่พนักงานและต้องการให้ความเป็นอยู่ที่ดีกับพนักงาน รวมทั้งการสร้างโอกาสและสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่เป็นมิตร คล้ายคลึงกับพฤติกรรมที่คำนึงถึงผู้อื่นและการมุ่งความสัมพันธ์กันมีการฝึกอบรมการเป็นผู้นำ

3.ผู้นำแบบมีส่วนร่วม เป็นผู้นำที่ให้คำแนะนำกับพนักงาน การค้นหาความคิด และการกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

4.ผู้นำที่มุ่งที่ความสำเร็จ เป็นการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนและท้าทายสำหรับพนักงาน ผู้นำที่มุ่งที่ความสำเร็จได้มีการปรับปรุงการทำงานกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สร้างความเชื่อมั่นว่าพนักงานสามารถบรรลุมาตรฐานเหล่านั้น

ตัวแปรเชิงสถานการณ์ สามารถจัดกลุ่มเป็น 2 ประเภท คือ
1.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย โครงสร้างงาน ระบบอำนาจที่เป็นทางการขององค์การ และกลุ่มงาน ปัจจัยเหล่านี้จะสามารถสร้างความพึงพอใจและรู้สึกพอใจในงาน
2.ลักษณะผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน ซึ่งประกอบด้วย ทักษะและความต้องการของพนักงาน ผู้บริหารโดยทั่วไปจะปรับรูปแบบการเป็นผู้นำตามความสามารถของพนักงาน

อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์ . (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.

Unknown กล่าวว่า...

นางสาวสายฝน โป่งมะณี รหัส 5210125401003 เอกการจัดการทั่วไป ปี4
ทฤษฎีผู้นำที่เหมาะสมกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ทฤษฎีผลกระทบระหว่างบุคคลและสถานการณ์ (Personal & Situation Theory)
ภายหลังปี ค.ศ. 1930 นักทฤษฎีได้เริ่มต้นศึกษาเกี่ยวกับความมีประสิทธิภาพของภาวะผู้นำในลักษณะที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ทฤษฎีนี้มีแนวความคิดว่าคุณลักษณะของผู้นำจะต้องมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์ จึงจะทำให้เกิดภาวะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ ความเชื่อเบื้องหลังความคิดนี้คือลักษณะของสถานการณ์ใดๆก็ตามจะเป็นตัวกำหนดคุณลักษณะที่จำเป็นต่อความสำเร็จของภาวะผู้นำ ดังนั้นบุคคลที่มีลักษณะผู้นำตามทฤษฎีลักษณะผู้นำนั้น มิได้หมายความว่าจะเป็นผู้นำได้ทุกโอกาสหรือทุกสถานการณ์ ตัวอย่างเช่น ในสถานการณ์ที่กลุ่มต้องการความสนุกสนานรื่นเริงในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ บุคคลที่มีรูปร่างสูงใหญ่ เฉลียวฉลาด สุขุมเยือกเย็น ความจำดี กล้าหาญ และอดทน ย่อมไม่เหมาะที่จะเป็นผู้นำเท่ากับบุคคลที่มีนิสัยร่าเริง ชอบสนุกสนาน ชอบดื่ม แม้รูปร่างไม่ใหญ่โตและสติปัญญาไม่สู้จะเฉลียวฉลาดนัก เพราะในสถานการณ์เช่นนี้ทุกคนในกลุ่มต้องการหาความสุขจากการสนุกสนานรื่นเริง

อ้างอิง : รองศาสตราจารย์สมคิด บางโม. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์, 2541.316 หน้า.