27 มิย 55 บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับการบริหารจัดการ รหัส 52
054 แรงจูงใจ พฤติกรรมนิยม (ปรับปรุงใหม่)
005 เฮนรี ฟาโย กระบวนการจัดการ
การวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ การประสานงาน การควบคุม
แนวทางในการบริหารจัดการ
เทคนิควิธีการทำงาน
ความสามารถในการบริหาร
หลักจัดการ 14 ข้อ
024 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการ
การวางแผน
การจัดมอบหมายความรับผิดชอบ
การควบคุมงาน
029 แนวความคิดทางการจัดการ มี 2 ประเภท
แนวความคิดแบบเก่า ยึดหัวหน้าเป็นหลัก ปราศจากเหตุผล ปฏิบัติตามคำสั่งของหัวหน้า ทุกอย่างขึ้นอยู่กับ หัวหน้า
แนวความคิดแบบใหม่ ให้ความสำคัญต่อลูกจ้าง และผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องมีสิ่งจูงใจที่ไม่ใช่ตัวเงิน เกี่ยวข้องด้วย
วิวัฒนาการจัดการ
Frederick W. Taylor
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ กำหนดวิธีที่ดีที่สุดสำหรับการทำงานแต่ละอย่าง
ยุคการจัดการสมัยใหม่ การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ Elton Mayo
Hawthorne study ธรรมชาติของมนุษย์มีพฤติกรรมสองแบบ ตามเหตุผล และตามอารมณ์
การจัดการสมัยปัจจุบัน เช่น การจัดการโดยใช้คณิตศาสตร์ ช่วยในการตัดสินใจ นำตัวเลขต่างๆ มาผ่านกระบวนการทางคณิตศาสตร์ แล้วนำมาประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร แต่มีข้อจำกัดและข้อยกเว้นมาก
034 Mcclelland การจูงใจของบุคคลที่กระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งความสำเร็จ ต้องการทำ
กระทำงาน ให้ดีที่สุด ปี 1940 ทดลองโดยใช้แบบทดสอบการรับรู้ของบุคคล สรุปว่า
ความต้องการความสำเร็จ
ความต้องการความผูกพัน
ความต้องการอำนาจ
งานที่เปิดโอกาสให้เขามีส่วนรับผิดชอบและแก้ปัญหาด้วยตนเอง
งานที่มีระดับความยากง่ายพอดี
งานที่มีความแน่นอนต่อเนื่องและมีความก้าวหน้า
สภาพแวดล้อมในการทำงานเป็นปัจจัยในการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
053 Maslow ท.เกี่ยวกับความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
ความต้องการของมนุษย์มีลักษณะเป็นลำดับขั้น เมื่อได้รับการตอบสนองแล้วก็จะมีความต้องการระดับต่อไป
ความต้องการทางร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง
ความต้องการความผูกพันหรือการยอมรับ
ความต้องการการยกย่อง ความภูมิใจในตนเอง
ความต้องการความสำเร็จในชีวิต
074 ท.ภาวะผู้นำ
ท.ภาวะผู้นำแบบประเพณีนิยม
แบบคุณลักษณะ หรือ ท.มหาบุรุษ การเป็นผู้นำขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพ บางอย่างของบุคคลไม่พบในคนทั่วไป ผู้นำจะมีคุณลักษณะพื้นฐานต่างจากบุคคลอื่นๆ
ท.พฤติกรรม มีสมมติฐานเบื้องต้นว่าภาวะการเป็นผู้นำเป็นส่วนสำคัญของการบริหาร ศึกษาจากพฤติกรรมต่างๆ ที่ผู้นำแสดงออกมา
ท.การให้รางวัลและการลงโทษ ใช้เป็นสิ่งจูงใจ
การให้รางวัลเมื่อทำความดี
การลงโทษเมื่อทำความผิด
การให้รางวัลโดยไม่คำนึงถึงผลงาน
การลงโทษโดยไม่ได้คำนึงถึงผลงาน
ท. ผู้นำตามสถานการณ์ ให้ความสนใจกับปัจจัยแวดล้อม กับประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของผู้นำ
ท. ผู้นำ ของ Fiedler ภาวะผู้นำเป็นขบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลง
ท. ผู้นำ ของ House
ท. ผู้นำ ของ Hersey & Blanchard
ความพร้อมด้านจิตใจ และความเต็มใจ
ท. ทดแทนความเป็นผู้นำ
ท.ภาวะผู้นำแบบใหม่
ผู้นำจะต้องสามารถอธิบายและประเมินผลได้
ภาวะผู้นำที่มีคุณสมบัติพิเศษ
ผู้นำแบบแลกเปลี่ยน และผู้นำแบบเปลี่ยนรูป
ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน มีประสิทธิภาพสูงในสภาพแวดล้อม มีเสถียรภาพแต่ไม่สามารถบริหารงานได้ดี
ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนรูป มีความสำคัญเมื่อสภาพแวดล้อมขององค์การเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว
077 การจัดการแบบคลาสสิค
มุ่งที่องค์กรโดยส่วนรวม ปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
การจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
การจัดการที่เน้นถึงพฤติกรรมกลุ่ม และ บุคคลในองค์กร
การจัดการเชิงปริมาณ
นำเทคนิคคณิตศาสตร์ เครื่องมือสถิติ ข้อมูลเพื่อช่วยแก้ปัญหาการจัดการ
ศาสตร์การจัดการ
การจัดการปฏิบัติการ
ระบบข้อมูลการปฏิบัติการ
078 ท. ภาวะผู้นำ
คุณลักษณะเฉพาะ เกิดมาเพื่อที่จะเป็นผู้นำ
ความฉลาด
การบรรลุวุฒิภาวะทางสังคม
การจูงใจภายในมีแรงผลักทางด้านความสำเร็จ
มีทัศนคติทางด้านมนุษยสัมพันธ์
ท. ตามแนวพฤติกรรมศาสตร์
เน้นผู้นำกับผู้ตาม ใช้วิธีการวิจัยแบบทดลอง Kurt Lewin การฝึกอบรมแบบกลุ่มพลวัตร และ นักท.ด้านความเข้าใจ
070 ท. การจูงใจ Clayton Alderfer
ความต้องการในการดำรงอยู่
ความต้องการความสัมพันธ์
ความต้องการความก้าวหน้า
062 แนวคิดทางการบริหารจัดการ
055 ท. X & Y
McGregor ผู้บริหารแบบ ท. X เชื่อว่า คนจะหลีกเลี่ยงการทำงาน ไม่รับผิดชอบ ต้องถูกบังคับ
ถ้าเป็นแบบ ท. Y มนุษย์มีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์และความคิดสร้างสรรค์
เน้นการพัฒนามนุษย์โดยเชื่อว่า ผู้บริหารควรสร้างแรงจูงใจ ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำงาน มีการนำท.เชิงจิตวิทยามาใช้ เกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์
050 ท.การจูงใจ Herzbert
องค์ประกอบที่สนับสนุนความพอใจในการทำงานในองค์กร และ สนับสนุนความไม่พอใจ ในการทำงาน
039 วิธีการบริหารโดยใช้พฤติกรรมศาสตร์
Chester Barnard อำนาจว่าด้วยการยอมรับ การที่ผู้บริหารจะได้รับการร่วมมือต้องใช้อำนาจอย่างถูกต้อง
038 Max Weber ท. ระบบราชการ
เกิดขึ้นในเยอรมัน มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการจัดการ ทำให้ไม่มีประสิทธิภาพ จึงนำเสนอรูปแบบองค์การแบบระบบราชการ มีประสิทธิภาพ และมีความเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น หลัก 7 ประการ
แบ่งงานกันทำ
จัดโครงสร้างตามสายงานบังคับบัญชา
การกำหนดกฏ วินัยและการควบคม
การกำหนดงานตามหลักอำนาจหน้าที่
ข้อผูกมัดระยะยาวในอาชีพ
อำนาจหน้าที่ตามโครงสร้างในองค์การ
ความมีเหตุมีผล
001 การจัดการแบบวิทยาศาสตร์
จูงใจให้คนงานทำงานโดยเปลี่ยนระบบการจ่ายค่าจ้าง แบบรายชิ้น
ปัจจัยที่สำคัญคือ วิธีการทำงานด้วยวิธีวิทยาศาสตร์ หาวิธีการทำงานเพื่อให้เกิดความชำนาญ และ การจ่ายค่าจ้างแบบจูงใจ
003 การจัดการตามสถานการณ์
สภาพแวดล้อม กับการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม
002 W.J. Reddin ท. Z รวมเอา ท. X &Y
มนุษย์มีทั้งดีและ เลว สภาพแวดล้อมทางสถานการณ์ จะเป็นมูลเหตุจูงใจ ให้มนุษย์เลือกกระทำ
006 การบริหารจัดการเชิงระบบ มาจากท.ระบบ โดยทั่วไป Ludwig Von Bertalanffy ความเข้าใจในระบบการทำงานโดยรวม มี สองแบบ
ระบบปิด ไม่ได้รับอิทธิพล หรือ ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมภายนอก
ระบบเปิด จะมีปฏิกิริยาโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมของระบบอย่างต่อเนื่อง
ระบบและองค์รวม มีความสำคัญมากในการวิเคราะห์ระบบโดยทั่วไป
L.Thomas แนวคิดการวิเคราะห์เชิงระบบ 6 ประการ
องค์รวมของระบบ
การบูรณาการ
การปรับเปลี่ยนแต่ละองค์ประกอบ
แต่ละองค์ประกอบมีบทบาทที่ต้องปฏิบัติ เพื่อองค์รวมสามารถบรรลุเป้าหมาย
ตำแหน่งขององค์ประกอบ ย่อยภายในองค์รวมจะบ่งบอกถึงหน้าที่ขององค์ประกอบย่อยๆ นั้น
การวิเคราะห์ทั้งหมดจะเริ่มต้นที่องค์รวม
014 หน้าที่การจัดการ (ปรับปรุง)
036 Frank Bunker Gilbreth and Lillian M. Gilbreth
หลักการประหยัดเวลาและการเคลื่อนไหวร่างกายในการทำงาน
เป็นการเพิ่มกำลังใจในการทำงานและมีประโยชน์ในการเคลื่อนไหว ร่างกายของคนงาน การเลือกใช้เครื่องมือ ในการทำงาน
058 หลักการบริหารแบบดุลยภาพ
David Norton & Kaplan
เป็นการนำข้อด้อยของ ท.เก่าๆ มาประยุกต์ ให้เหมาะสม
057 ท. องค์กรสมัยปัจจุบัน ใช้หลายๆ วิชามาประยุกต์รวมกัน
ปี 1950 เป็นต้นมา
ท.องค์การสมัยใหม่ มีความเชื่อว่า
องค์การมีปัจจัยพื้นฐาน 5 ส่วน
องค์การธุรกิจเป็นระบบเปิด
องค์การเปลี่ยนแปลงได้
องค์การต้องใช้แรงจูงใจหลายๆ ด้าน
สมาชิกขององค์การคาดหวังจะได้รับการตอบสนองโดยใช้องค์การเป็นทางผ่าน
เป็นท.ผสม นำแนวคิดหลากหลายสาขามาผสมกัน
องค์การเป็นระบบที่ปรับตัวได้ ถ้าต้องการคงอยู่ต่อไป ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
059 เพลโต ระบบการทำงานแบบแบ่งงานกันทำ นำแนวคิดของ Socrates มีทั้งการรับและการให้
065 ท. เสริมแรง อยู่ในกลุ่มของ ท.จูงใจ
Skinner
016 เชิงระบบ Norbert Wiener
026 ท. ERG Alderfer ความต้องการความสัมพันธ์
064 ท. ความควาดหวังในการจูงใจ Vroom
052 ท. นิเวศวิทยา ขององค์การ
051 ท. ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
056 ท.ภาวะผู้นำ แนวคิด yukl
043 ท. การจูงใจ Porter & Lawler
048 แนวความคิดทางการจัดการเชิงปริมาณ
068 ท.มูลเหตุจูงใจสุขอนามัย
069 ปัจจัยในการบริหาร
081 การจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์
073 แนวคิดการจัดการที่มีหลักเกณฑ์
เพชร Luther Gulick , Lyndall Urwirk
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
38 ความคิดเห็น:
ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064
ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจ : ทฤษฎี Vroom
ทฤษฎีความหวัง (Expectancy theory) เป็นทัศนะที่เชื่อเกี่ยวกับการได้อภิปรายถึงวิธีการาที่บุคคลได้รับการกระตุ้น เป็นผลงานของนักจิตวิทยาชื่อ Victor H. Vroom ซึ่งถือว่าบุคคลจะได้รับการกระตุ้นให้กระทำสิ่งซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมาย ถ้าเชื่อในคุณค่าของเป้าหมาย และมองเห็นว่าจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายได้ ในกรณีนี้เป็นความคิดของ Martin Luther กล่าวว่าทุกสิ่งที่ได้กระทำไปเป็นการกระทำด้วยความหวัง
ทฤษฎี Vroom (Vroom theory) คือ การจูงใจของบุคคลซึ่งมีคุณค่าในผลลัพธ์จากการใช้ความพยายาม (อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบ) คูณด้วยความเชื่อมั่นจากการใช้ความพยายาม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย กล่าวคือ Vroom ระบุว่า การจูงใจเป็นสิ่งมีค่า ซึ่งแต่ละบุคคลกำหนดเป้าหมายและโอกาสเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น
ทฤษฎี Vroom เป็นไปตามสมการคือ
อำนาจ = คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ x ความคาดหวัง
อำนาจ (Force) เป็นจุดแข็งของการจูงใจบุคคล คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เป็นจุดเข็งของความพอใจของบุคคลในผลลัพธ์ ความคาดหวัง (Expectancy) เป็นความน่าจะเป็นสำหรับการกระทำเฉพาะอย่างซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เมื่อบุคคลมีเป้าหมายเฉพาะอย่างไม่แตกต่าง คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เท่ากับศูนย์ มีผลลัพธ์เป็นลบเมื่อบุคคลไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ผลลัพธ์ก็คือไม่มีการจูงใจ นอกจากนี้บุคคลจะไม่มีการจูงใจให้บรรลุเป้าหมาย ถ้าความคาดหวังเป็นศูนย์หรือติดลบ อำนาจในการกระทำบางสิ่งขึ้นอยู่กับทั้งคุณค่าความพอใจในผลลัพธ์และความคาดหวัง ยิ่ไปกว่านั้นสิ่งจูงใจเพื่อให้บรรลุการกระทำบางอย่างได้กำหนด โดยความต้องการให้บรรลุสิ่งนั้น
ตัวอย่าง บุคคลเต็มใจทำงานหนัก เพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ในรูปของคาอบแทน ผู้จัดการจะเต็มใจทำงานหนักเพื่อบรรลุเป้าหมายของบริษัทในการตลาดหรือการผลิต เพื่อการเลื่อนตำแหน่ง หรือผลลัพธ์ด้านค่าตอบแทน
ทฤษฎี Vroom และการปฏิบัติ (The Vroom theory and practice) สิ่งที่น่าสนใจของทฤษฎีนี้ก็คือการระลึกถึงความสำคัญของความต้องการเฉพาะบุคคลและการจูงใจ โดยหลีกเลี่ยงลักษณะของทฤษฎี Maslow และ Herzberg ให้เหมาะสมและมรความเข้ากันกับวัตถุประสงค์ แต่ละบุคคลจะมีเป้าหมายส่วนตัวที่แตกต่างกว่าเป้าหมายขององค์การ แต่สามารถเข้ากันได้ นอกจากนี้ทฤษฎี Vroom ยังสอดคล้องกับหลักการจัดการโดยวัตถุประสงค์ (MBO)
จุดแข็งของทฤษฎี Vroom ก็เป็นจุดอ่อนด้วยเช่นกัน จากข้อสมมติที่ว่า การรับรู้ถึงค่านิยมจะแตกต่างกันในเวลาและสถานที่ที่แตกต่างกัน จากความคิดที่ว่างานของผู้บริหาร คือ ออกแบบสิ่งแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะศึกษาความแตกต่างในสถานการณ์ต่างๆ ทฤษฎีนี้ยังลำบากต่อการนำไปปฏิบัติความถูกต้องด้านเหตุผลของทฤษฎี Vroom ระบุว่า การจูงใจมีความสลับซับซ้อนมากกว่าทฤษฎี Maslow และ Herzberg
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ
ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064
ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจ : ทฤษฎี Vroom
ทฤษฎีความหวัง (Expectancy theory) เป็นทัศนะที่เชื่อเกี่ยวกับการได้อภิปรายถึงวิธีการาที่บุคคลได้รับการกระตุ้น เป็นผลงานของนักจิตวิทยาชื่อ Victor H. Vroom ซึ่งถือว่าบุคคลจะได้รับการกระตุ้นให้กระทำสิ่งซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมาย ถ้าเชื่อในคุณค่าของเป้าหมาย และมองเห็นว่าจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายได้ ในกรณีนี้เป็นความคิดของ Martin Luther กล่าวว่าทุกสิ่งที่ได้กระทำไปเป็นการกระทำด้วยความหวัง
ทฤษฎี Vroom (Vroom theory) คือ การจูงใจของบุคคลซึ่งมีคุณค่าในผลลัพธ์จากการใช้ความพยายาม (อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบ) คูณด้วยความเชื่อมั่นจากการใช้ความพยายาม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย กล่าวคือ Vroom ระบุว่า การจูงใจเป็นสิ่งมีค่า ซึ่งแต่ละบุคคลกำหนดเป้าหมายและโอกาสเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น
ทฤษฎี Vroom เป็นไปตามสมการคือ
อำนาจ = คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ x ความคาดหวัง
อำนาจ (Force) เป็นจุดแข็งของการจูงใจบุคคล คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เป็นจุดเข็งของความพอใจของบุคคลในผลลัพธ์ ความคาดหวัง (Expectancy) เป็นความน่าจะเป็นสำหรับการกระทำเฉพาะอย่างซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เมื่อบุคคลมีเป้าหมายเฉพาะอย่างไม่แตกต่าง คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เท่ากับศูนย์ มีผลลัพธ์เป็นลบเมื่อบุคคลไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ผลลัพธ์ก็คือไม่มีการจูงใจ นอกจากนี้บุคคลจะไม่มีการจูงใจให้บรรลุเป้าหมาย ถ้าความคาดหวังเป็นศูนย์หรือติดลบ อำนาจในการกระทำบางสิ่งขึ้นอยู่กับทั้งคุณค่าความพอใจในผลลัพธ์และความคาดหวัง ยิ่ไปกว่านั้นสิ่งจูงใจเพื่อให้บรรลุการกระทำบางอย่างได้กำหนด โดยความต้องการให้บรรลุสิ่งนั้น
ตัวอย่าง บุคคลเต็มใจทำงานหนัก เพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ในรูปของคาอบแทน ผู้จัดการจะเต็มใจทำงานหนักเพื่อบรรลุเป้าหมายของบริษัทในการตลาดหรือการผลิต เพื่อการเลื่อนตำแหน่ง หรือผลลัพธ์ด้านค่าตอบแทน
ทฤษฎี Vroom และการปฏิบัติ (The Vroom theory and practice) สิ่งที่น่าสนใจของทฤษฎีนี้ก็คือการระลึกถึงความสำคัญของความต้องการเฉพาะบุคคลและการจูงใจ โดยหลีกเลี่ยงลักษณะของทฤษฎี Maslow และ Herzberg ให้เหมาะสมและมรความเข้ากันกับวัตถุประสงค์ แต่ละบุคคลจะมีเป้าหมายส่วนตัวที่แตกต่างกว่าเป้าหมายขององค์การ แต่สามารถเข้ากันได้ นอกจากนี้ทฤษฎี Vroom ยังสอดคล้องกับหลักการจัดการโดยวัตถุประสงค์ (MBO)
จุดแข็งของทฤษฎี Vroom ก็เป็นจุดอ่อนด้วยเช่นกัน จากข้อสมมติที่ว่า การรับรู้ถึงค่านิยมจะแตกต่างกันในเวลาและสถานที่ที่แตกต่างกัน จากความคิดที่ว่างานของผู้บริหาร คือ ออกแบบสิ่งแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะศึกษาความแตกต่างในสถานการณ์ต่างๆ ทฤษฎีนี้ยังลำบากต่อการนำไปปฏิบัติความถูกต้องด้านเหตุผลของทฤษฎี Vroom ระบุว่า การจูงใจมีความสลับซับซ้อนมากกว่าทฤษฎี Maslow และ Herzberg
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ
ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064
ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจ : ทฤษฎี Vroom
ทฤษฎีความหวัง (Expectancy theory) เป็นทัศนะที่เชื่อเกี่ยวกับการได้อภิปรายถึงวิธีการาที่บุคคลได้รับการกระตุ้น เป็นผลงานของนักจิตวิทยาชื่อ Victor H. Vroom ซึ่งถือว่าบุคคลจะได้รับการกระตุ้นให้กระทำสิ่งซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมาย ถ้าเชื่อในคุณค่าของเป้าหมาย และมองเห็นว่าจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายได้ ในกรณีนี้เป็นความคิดของ Martin Luther กล่าวว่าทุกสิ่งที่ได้กระทำไปเป็นการกระทำด้วยความหวัง
ทฤษฎี Vroom (Vroom theory) คือ การจูงใจของบุคคลซึ่งมีคุณค่าในผลลัพธ์จากการใช้ความพยายาม (อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบ) คูณด้วยความเชื่อมั่นจากการใช้ความพยายาม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย กล่าวคือ Vroom ระบุว่า การจูงใจเป็นสิ่งมีค่า ซึ่งแต่ละบุคคลกำหนดเป้าหมายและโอกาสเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น
ทฤษฎี Vroom เป็นไปตามสมการคือ
อำนาจ = คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ x ความคาดหวัง
อำนาจ (Force) เป็นจุดแข็งของการจูงใจบุคคล คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เป็นจุดเข็งของความพอใจของบุคคลในผลลัพธ์ ความคาดหวัง (Expectancy) เป็นความน่าจะเป็นสำหรับการกระทำเฉพาะอย่างซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เมื่อบุคคลมีเป้าหมายเฉพาะอย่างไม่แตกต่าง คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เท่ากับศูนย์ มีผลลัพธ์เป็นลบเมื่อบุคคลไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ผลลัพธ์ก็คือไม่มีการจูงใจ นอกจากนี้บุคคลจะไม่มีการจูงใจให้บรรลุเป้าหมาย ถ้าความคาดหวังเป็นศูนย์หรือติดลบ อำนาจในการกระทำบางสิ่งขึ้นอยู่กับทั้งคุณค่าความพอใจในผลลัพธ์และความคาดหวัง ยิ่ไปกว่านั้นสิ่งจูงใจเพื่อให้บรรลุการกระทำบางอย่างได้กำหนด โดยความต้องการให้บรรลุสิ่งนั้น
ตัวอย่าง บุคคลเต็มใจทำงานหนัก เพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ในรูปของคาอบแทน ผู้จัดการจะเต็มใจทำงานหนักเพื่อบรรลุเป้าหมายของบริษัทในการตลาดหรือการผลิต เพื่อการเลื่อนตำแหน่ง หรือผลลัพธ์ด้านค่าตอบแทน
ทฤษฎี Vroom และการปฏิบัติ (The Vroom theory and practice) สิ่งที่น่าสนใจของทฤษฎีนี้ก็คือการระลึกถึงความสำคัญของความต้องการเฉพาะบุคคลและการจูงใจ โดยหลีกเลี่ยงลักษณะของทฤษฎี Maslow และ Herzberg ให้เหมาะสมและมรความเข้ากันกับวัตถุประสงค์ แต่ละบุคคลจะมีเป้าหมายส่วนตัวที่แตกต่างกว่าเป้าหมายขององค์การ แต่สามารถเข้ากันได้ นอกจากนี้ทฤษฎี Vroom ยังสอดคล้องกับหลักการจัดการโดยวัตถุประสงค์ (MBO)
จุดแข็งของทฤษฎี Vroom ก็เป็นจุดอ่อนด้วยเช่นกัน จากข้อสมมติที่ว่า การรับรู้ถึงค่านิยมจะแตกต่างกันในเวลาและสถานที่ที่แตกต่างกัน จากความคิดที่ว่างานของผู้บริหาร คือ ออกแบบสิ่งแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะศึกษาความแตกต่างในสถานการณ์ต่างๆ ทฤษฎีนี้ยังลำบากต่อการนำไปปฏิบัติความถูกต้องด้านเหตุผลของทฤษฎี Vroom ระบุว่า การจูงใจมีความสลับซับซ้อนมากกว่าทฤษฎี Maslow และ Herzberg
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ
ปณิตา การจัดการทั่วไป รุ่น52ภาคปกติ รหัส5210125401064
ทฤษฎีความคาดหวังในการจูงใจ : ทฤษฎี Vroom
ทฤษฎีความหวัง (Expectancy theory) เป็นทัศนะที่เชื่อเกี่ยวกับการได้อภิปรายถึงวิธีการาที่บุคคลได้รับการกระตุ้น เป็นผลงานของนักจิตวิทยาชื่อ Victor H. Vroom ซึ่งถือว่าบุคคลจะได้รับการกระตุ้นให้กระทำสิ่งซึ่งสามารถบรรลุเป้าหมาย ถ้าเชื่อในคุณค่าของเป้าหมาย และมองเห็นว่าจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายได้ ในกรณีนี้เป็นความคิดของ Martin Luther กล่าวว่าทุกสิ่งที่ได้กระทำไปเป็นการกระทำด้วยความหวัง
ทฤษฎี Vroom (Vroom theory) คือ การจูงใจของบุคคลซึ่งมีคุณค่าในผลลัพธ์จากการใช้ความพยายาม (อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบ) คูณด้วยความเชื่อมั่นจากการใช้ความพยายาม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย กล่าวคือ Vroom ระบุว่า การจูงใจเป็นสิ่งมีค่า ซึ่งแต่ละบุคคลกำหนดเป้าหมายและโอกาสเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้น
ทฤษฎี Vroom เป็นไปตามสมการคือ
อำนาจ = คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ x ความคาดหวัง
อำนาจ (Force) เป็นจุดแข็งของการจูงใจบุคคล คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เป็นจุดเข็งของความพอใจของบุคคลในผลลัพธ์ ความคาดหวัง (Expectancy) เป็นความน่าจะเป็นสำหรับการกระทำเฉพาะอย่างซึ่งนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ เมื่อบุคคลมีเป้าหมายเฉพาะอย่างไม่แตกต่าง คุณค่าความพอใจในผลลัพธ์ (Valence) เท่ากับศูนย์ มีผลลัพธ์เป็นลบเมื่อบุคคลไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ผลลัพธ์ก็คือไม่มีการจูงใจ นอกจากนี้บุคคลจะไม่มีการจูงใจให้บรรลุเป้าหมาย ถ้าความคาดหวังเป็นศูนย์หรือติดลบ อำนาจในการกระทำบางสิ่งขึ้นอยู่กับทั้งคุณค่าความพอใจในผลลัพธ์และความคาดหวัง ยิ่ไปกว่านั้นสิ่งจูงใจเพื่อให้บรรลุการกระทำบางอย่างได้กำหนด โดยความต้องการให้บรรลุสิ่งนั้น
ตัวอย่าง บุคคลเต็มใจทำงานหนัก เพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ในรูปของคาอบแทน ผู้จัดการจะเต็มใจทำงานหนักเพื่อบรรลุเป้าหมายของบริษัทในการตลาดหรือการผลิต เพื่อการเลื่อนตำแหน่ง หรือผลลัพธ์ด้านค่าตอบแทน
ทฤษฎี Vroom และการปฏิบัติ (The Vroom theory and practice) สิ่งที่น่าสนใจของทฤษฎีนี้ก็คือการระลึกถึงความสำคัญของความต้องการเฉพาะบุคคลและการจูงใจ โดยหลีกเลี่ยงลักษณะของทฤษฎี Maslow และ Herzberg ให้เหมาะสมและมรความเข้ากันกับวัตถุประสงค์ แต่ละบุคคลจะมีเป้าหมายส่วนตัวที่แตกต่างกว่าเป้าหมายขององค์การ แต่สามารถเข้ากันได้ นอกจากนี้ทฤษฎี Vroom ยังสอดคล้องกับหลักการจัดการโดยวัตถุประสงค์ (MBO)
จุดแข็งของทฤษฎี Vroom ก็เป็นจุดอ่อนด้วยเช่นกัน จากข้อสมมติที่ว่า การรับรู้ถึงค่านิยมจะแตกต่างกันในเวลาและสถานที่ที่แตกต่างกัน จากความคิดที่ว่างานของผู้บริหาร คือ ออกแบบสิ่งแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะศึกษาความแตกต่างในสถานการณ์ต่างๆ ทฤษฎีนี้ยังลำบากต่อการนำไปปฏิบัติความถูกต้องด้านเหตุผลของทฤษฎี Vroom ระบุว่า การจูงใจมีความสลับซับซ้อนมากกว่าทฤษฎี Maslow และ Herzberg
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2542). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ
น.ส.ศิรินทรา เรืองรอง สาขาการจัดการทั่วไป 5210125401026
ทฤษฎี ERG
ทฤษฎี ERG (Alderfer’s ERG Theory) พัฒนาโดย Clayton Alderfer โดยมีพื้นฐานความคิดที่ใกล้ชิดกับทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow แต่ Alderfer ได้พัฒนาแนวความคิดให้มีจุดเด่นที่แตกต่างไปจากทฤษฎีของ Maslow โดย Alderfer จำแนกความต้องการของมนุษย์ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
ความต้องการอยู่รอด (Existence) หรือ E
ซึ่งเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต โดยเกี่ยวข้องกับความต้องการทางด้านร่างกาย
และมีความปรารถนาอยากมีสิ่งของครื่องใช้ต่างๆ เพื่อดำรงชีพอยู่ในสังคม
ความต้องการมีความสัมพันธ์ทางสังคม (Relatedness) หรือ R
เป็นความต้องการที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ต่างๆ ที่มีอยู่ระหว่างงานและบุคคลอื่นในสังคม เช่น การยอมรับ มิตรภาพ ความรัก เป็นต้น เพื่อที่จะอยู่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ความต้องการการเจริญเติบโต (Growth) หรือ G
เป็นความต้องการที่เกี่ยวกับการพัฒนา การเติบโต และความก้าวหน้าของบุคคล โดยบุคคลจะต้องการความก้าวหน้าและการยอมรับนับถือตลอดจนความสำเร็จในชีวิต
ทฤษฎี ERG จะมีความแตกต่างจากทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow คือ ความต้องการของบุคคลจะมีการเคลื่อนตัวถอยกลับ หากความต้องการที่เขาปรารถนาได้รับการตอบสนองน้อย หรือไม่ได้รับความพอใจ ทำให้ความต้องการประเภทที่ผ่านมาแล้วกลับมีความสำคัญมากขึ้น นอกจากนี้ทฤษฎีของ Maslow ยังจำกัดว่าบุคคลมีความต้องการอยู่เพียงลำดับขั้นเดียว แต่ตามทฤษฎี ERG บุคคลสามารถมีความต้องการที่จะได้รับการตอบสนองมากกว่าหนึ่งขั้นในเวลาเดียวกัน ทำให้ทฤษฎี ERG มีความยืดหยุ่นและเหมาะสมต่อการนำมาประยุกต์มากกว่าทฤษฎีของ Maslow
อ้างอิง : มัลลิกา ต้นสอน. การจัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ. บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด. 2545
น.ส.ศิรินทรา เรืองรอง สาขาการจัดการทั่วไป 5210125401026
ทฤษฎี ERG
ทฤษฎี ERG (Alderfer’s ERG Theory) พัฒนาโดย Clayton Alderfer โดยมีพื้นฐานความคิดที่ใกล้ชิดกับทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow แต่ Alderfer ได้พัฒนาแนวความคิดให้มีจุดเด่นที่แตกต่างไปจากทฤษฎีของ Maslow โดย Alderfer จำแนกความต้องการของมนุษย์ ออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
ความต้องการอยู่รอด (Existence) หรือ E
ซึ่งเป็นความต้องการขั้นพื้นฐานในการดำรงชีวิต โดยเกี่ยวข้องกับความต้องการทางด้านร่างกาย
และมีความปรารถนาอยากมีสิ่งของครื่องใช้ต่างๆ เพื่อดำรงชีพอยู่ในสังคม
ความต้องการมีความสัมพันธ์ทางสังคม (Relatedness) หรือ R
เป็นความต้องการที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ต่างๆ ที่มีอยู่ระหว่างงานและบุคคลอื่นในสังคม เช่น การยอมรับ มิตรภาพ ความรัก เป็นต้น เพื่อที่จะอยู่ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ความต้องการการเจริญเติบโต (Growth) หรือ G
เป็นความต้องการที่เกี่ยวกับการพัฒนา การเติบโต และความก้าวหน้าของบุคคล โดยบุคคลจะต้องการความก้าวหน้าและการยอมรับนับถือตลอดจนความสำเร็จในชีวิต
ทฤษฎี ERG จะมีความแตกต่างจากทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของ Maslow คือ ความต้องการของบุคคลจะมีการเคลื่อนตัวถอยกลับ หากความต้องการที่เขาปรารถนาได้รับการตอบสนองน้อย หรือไม่ได้รับความพอใจ ทำให้ความต้องการประเภทที่ผ่านมาแล้วกลับมีความสำคัญมากขึ้น นอกจากนี้ทฤษฎีของ Maslow ยังจำกัดว่าบุคคลมีความต้องการอยู่เพียงลำดับขั้นเดียว แต่ตามทฤษฎี ERG บุคคลสามารถมีความต้องการที่จะได้รับการตอบสนองมากกว่าหนึ่งขั้นในเวลาเดียวกัน ทำให้ทฤษฎี ERG มีความยืดหยุ่นและเหมาะสมต่อการนำมาประยุกต์มากกว่าทฤษฎีของ Maslow
อ้างอิง : มัลลิกา ต้นสอน. การจัดการยุคใหม่. กรุงเทพฯ. บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด. 2545
แนวความคิดการจัดการตามสถานการณ์
แนวคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาให้สอดคล้องกับสถาพการในยุคใหม่ที่ต้องเผชิญกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ขององค์การ เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผันได้แก่ สภาพแวดล้อมกับการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม โดยการออกแบบองค์การอย่างเหมาะสม และกระทำการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสถานการณ์เฉพาะอย่างเกิดขึ้น คือ
1.มุ่งให้ความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมองค์การ
2.ยอมรับหลักการต่าง ๆ ที่เป็นสากลควบคู่กับการมององค์การแต่ละองค์การมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
3.มุ่งแสวงหาความเข้าใจของความสัมพันธ์ที่ขึ้นอยู่ระหว่างกับระบบย่อยต่าง ๆ ภายในองค์การตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก
4.ยอมรับว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและระบบย่อยภายในต่าง ๆ ของแต่ละองค์การค่อนข้างมีลักษณะพิเศษอย่าง
จะเห็นว่าแนวคิดนี้มีความเข้าใจว่า ไม่มีแนวทางของการบริหารหรือทฤษฎีการบริหารใดที่ดีทีสุดเพียงแนวทางเดียว ที่จะใช้ได้กับองค์การทุกรูปแบบ การบริหารจะมีประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถประยุกต์และเลือกใช้วิธีการอย่างเหมาะสมตามแต่สถานการณ์ที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษารูปแบบหรือแนวความคิดทางการจัดการ
ในการศึกษารูปแบบหรือทฤษฎีทางด้านการจัดการนั้น มีหลักเกณฑ์หรือทฤษฎีที่จะต้องศึกษาหลายรูปแบบด้วยกัน รูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเหล่านั้นจะต้องมีการนำเอาทฤษฎีทางด้านการจัดการรวมทั้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์และมีการพัฒนาปรับปรุงทฤษฎีกันต่อ ๆ มา
ในการศึกษารูปแบบทางการจัดการสามารถวิเคราะห์เป็นกลุ่มได้หลายอย่างด้วยกัน คือ
1. วิธีการศึกษาในรูปของกรณีศึกษาหรือจากการสังเกต (The Empirical or Case Approach) การศึกษาทางการจัดการแบบนี้เป็นการวิเคราะห์หรือศึกษาการจัดการโดยอาศัยประสบการณ์แล้วมาวิเคราะห์ การศึกษาการจัดการโดยวิธีนี้เป็นที่เชื่อว่าเป็นการศึกษาจากความสำเร็จหรือความผิดพลาดของงานบริหารเฉพาะกรณีไป และผู้ศึกษาจะต้องพยายามศึกษาจากปัญหาที่ระบุเอาไว้อย่างเด่นชัดและสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้นักการจัดการสามารถศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดทางการจัดการได้
2. วิธีการศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์ (The Interpersonal Behavior Approach) การศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์เป็นวิธีการอย่างหนึ่ง เพราะในการศึกษาทางด้านการจัดการเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การ สภาวะการณ์การเป็นผู้นำ
3. วิธีการศึกษาการตัดสินใน (Decisional Approach) เป็นวิธีการศึกษาทางการจัดการที่นำเอาข้อมูลหรือการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาใช้ประกอบการตัดสินใจ
4. วิธีการศึกษาโดยวิธีการเชิงระบบ (System Approach) คำว่า ระบบ หมายถึงส่วนต่าง ๆ จำนวนหนึ่งที่มีผลกระทบต่อกันและมีส่วนเชื่อมโยงกันเพื่อที่จะทำให้งานขององค์การบรรลุเป้าหมายที่องค์การต้องการได้
5. วิธีการศึกษาแบบวิธีการปรับตัว (Adaptive of Ecological Approch) เป็นระบบเปิดจะต้องวิเคราะห์โดยการศึกษาสภาวะแวดล้อมภายในองค์การกับสภาวะแวดล้อมภายนอกองค์การควบคู่กันไปด้วย
อ้างอิง : ฟาร์อีสเทอร์น. ( 2547) วิวัฒนาการของแนวคิดทางการจัดการ.
แนวความคิดการจัดการตามสถานการณ์
แนวคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาให้สอดคล้องกับสถาพการในยุคใหม่ที่ต้องเผชิญกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ขององค์การ เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผันได้แก่ สภาพแวดล้อมกับการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม โดยการออกแบบองค์การอย่างเหมาะสม และกระทำการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสถานการณ์เฉพาะอย่างเกิดขึ้น คือ
1.มุ่งให้ความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมองค์การ
2.ยอมรับหลักการต่าง ๆ ที่เป็นสากลควบคู่กับการมององค์การแต่ละองค์การมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
3.มุ่งแสวงหาความเข้าใจของความสัมพันธ์ที่ขึ้นอยู่ระหว่างกับระบบย่อยต่าง ๆ ภายในองค์การตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก
4.ยอมรับว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและระบบย่อยภายในต่าง ๆ ของแต่ละองค์การค่อนข้างมีลักษณะพิเศษอย่าง
จะเห็นว่าแนวคิดนี้มีความเข้าใจว่า ไม่มีแนวทางของการบริหารหรือทฤษฎีการบริหารใดที่ดีทีสุดเพียงแนวทางเดียว ที่จะใช้ได้กับองค์การทุกรูปแบบ การบริหารจะมีประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถประยุกต์และเลือกใช้วิธีการอย่างเหมาะสมตามแต่สถานการณ์ที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษารูปแบบหรือแนวความคิดทางการจัดการ
ในการศึกษารูปแบบหรือทฤษฎีทางด้านการจัดการนั้น มีหลักเกณฑ์หรือทฤษฎีที่จะต้องศึกษาหลายรูปแบบด้วยกัน รูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเหล่านั้นจะต้องมีการนำเอาทฤษฎีทางด้านการจัดการรวมทั้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์และมีการพัฒนาปรับปรุงทฤษฎีกันต่อ ๆ มา
ในการศึกษารูปแบบทางการจัดการสามารถวิเคราะห์เป็นกลุ่มได้หลายอย่างด้วยกัน คือ
1. วิธีการศึกษาในรูปของกรณีศึกษาหรือจากการสังเกต (The Empirical or Case Approach) การศึกษาทางการจัดการแบบนี้เป็นการวิเคราะห์หรือศึกษาการจัดการโดยอาศัยประสบการณ์แล้วมาวิเคราะห์ การศึกษาการจัดการโดยวิธีนี้เป็นที่เชื่อว่าเป็นการศึกษาจากความสำเร็จหรือความผิดพลาดของงานบริหารเฉพาะกรณีไป และผู้ศึกษาจะต้องพยายามศึกษาจากปัญหาที่ระบุเอาไว้อย่างเด่นชัดและสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้นักการจัดการสามารถศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดทางการจัดการได้
2. วิธีการศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์ (The Interpersonal Behavior Approach) การศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์เป็นวิธีการอย่างหนึ่ง เพราะในการศึกษาทางด้านการจัดการเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การ สภาวะการณ์การเป็นผู้นำ
3. วิธีการศึกษาการตัดสินใน (Decisional Approach) เป็นวิธีการศึกษาทางการจัดการที่นำเอาข้อมูลหรือการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาใช้ประกอบการตัดสินใจ
4. วิธีการศึกษาโดยวิธีการเชิงระบบ (System Approach) คำว่า ระบบ หมายถึงส่วนต่าง ๆ จำนวนหนึ่งที่มีผลกระทบต่อกันและมีส่วนเชื่อมโยงกันเพื่อที่จะทำให้งานขององค์การบรรลุเป้าหมายที่องค์การต้องการได้
5. วิธีการศึกษาแบบวิธีการปรับตัว (Adaptive of Ecological Approch) เป็นระบบเปิดจะต้องวิเคราะห์โดยการศึกษาสภาวะแวดล้อมภายในองค์การกับสภาวะแวดล้อมภายนอกองค์การควบคู่กันไปด้วย
อ้างอิง : ฟาร์อีสเทอร์น. ( 2547) วิวัฒนาการของแนวคิดทางการจัดการ.
นางสาวสายฝน โป่งมะณี รหัส 5210125401003 เอกการจัดการทั่วไป ปี4
แนวคิดทฤษฎีทางการบริหารจัดการ
แนวความคิดการจัดการตามสถานการณ์
แนวคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาให้สอดคล้องกับสถาพการในยุคใหม่ที่ต้องเผชิญกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ขององค์การ เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผันได้แก่ สภาพแวดล้อมกับการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม โดยการออกแบบองค์การอย่างเหมาะสม และกระทำการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสถานการณ์เฉพาะอย่างเกิดขึ้น คือ
1.มุ่งให้ความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมองค์การ
2.ยอมรับหลักการต่าง ๆ ที่เป็นสากลควบคู่กับการมององค์การแต่ละองค์การมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
3.มุ่งแสวงหาความเข้าใจของความสัมพันธ์ที่ขึ้นอยู่ระหว่างกับระบบย่อยต่าง ๆ ภายในองค์การตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก
4.ยอมรับว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและระบบย่อยภายในต่าง ๆ ของแต่ละองค์การค่อนข้างมีลักษณะพิเศษอย่าง
จะเห็นว่าแนวคิดนี้มีความเข้าใจว่า ไม่มีแนวทางของการบริหารหรือทฤษฎีการบริหารใดที่ดีทีสุดเพียงแนวทางเดียว ที่จะใช้ได้กับองค์การทุกรูปแบบ การบริหารจะมีประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถประยุกต์และเลือกใช้วิธีการอย่างเหมาะสมตามแต่สถานการณ์ที่เกิดขึ้นวิธีการศึกษารูปแบบหรือแนวความคิดทางการจัดการ
ในการศึกษารูปแบบหรือทฤษฎีทางด้านการจัดการนั้น มีหลักเกณฑ์หรือทฤษฎีที่จะต้องศึกษาหลายรูปแบบด้วยกัน รูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเหล่านั้นจะต้องมีการนำเอาทฤษฎีทางด้านการจัดการรวมทั้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์และมีการพัฒนาปรับปรุงทฤษฎีกันต่อ ๆ มา
ในการศึกษารูปแบบทางการจัดการสามารถวิเคราะห์เป็นกลุ่มได้หลายอย่างด้วยกัน คือ
1. วิธีการศึกษาในรูปของกรณีศึกษาหรือจากการสังเกต (The Empirical or Case Approach) การศึกษาทางการจัดการแบบนี้เป็นการวิเคราะห์หรือศึกษาการจัดการโดยอาศัยประสบการณ์แล้วมาวิเคราะห์ การศึกษาการจัดการโดยวิธีนี้เป็นที่เชื่อว่าเป็นการศึกษาจากความสำเร็จหรือความผิดพลาดของงานบริหารเฉพาะกรณีไป และผู้ศึกษาจะต้องพยายามศึกษาจากปัญหาที่ระบุเอาไว้อย่างเด่นชัดและสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้นักการจัดการสามารถศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดทางการจัดการได้
2. วิธีการศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์ (The Interpersonal Behavior Approach) การศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์เป็นวิธีการอย่างหนึ่ง เพราะในการศึกษาทางด้านการจัดการเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การ สภาวะการณ์การเป็นผู้นำ
3. วิธีการศึกษาการตัดสินใน (Decisional Approach) เป็นวิธีการศึกษาทางการจัดการที่นำเอาข้อมูลหรือการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาใช้ประกอบการตัดสินใจ
4. วิธีการศึกษาโดยวิธีการเชิงระบบ (System Approach) คำว่า ระบบ หมายถึงส่วนต่าง ๆ จำนวนหนึ่งที่มีผลกระทบต่อกันและมีส่วนเชื่อมโยงกันเพื่อที่จะทำให้งานขององค์การบรรลุเป้าหมายที่องค์การต้องการได้
5. วิธีการศึกษาแบบวิธีการปรับตัว (Adaptive of Ecological Approch) เป็นระบบเปิดจะต้องวิเคราะห์โดยการศึกษาสภาวะแวดล้อมภายในองค์การกับสภาวะแวดล้อมภายนอกองค์การควบคู่กันไปด้วย
อ้างอิง : ฟาร์อีสเทอร์น. ( 2547) วิวัฒนาการของแนวคิดทางการจัดการ.
นางสาวสายฝน โป่งมะณี รหัส 5210125401003 เอกการจัดการทั่วไป ปี 4
แนวคิดทฤษฎีทางการบริหารจัดการ
แนวความคิดการจัดการตามสถานการณ์
แนวคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาให้สอดคล้องกับสถาพการในยุคใหม่ที่ต้องเผชิญกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ขององค์การ เป็นแนวคิดทางการบริหารที่มุ่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรผันได้แก่ สภาพแวดล้อมกับการเปลี่ยนแปลงองค์การอย่างเหมาะสม โดยการออกแบบองค์การอย่างเหมาะสม และกระทำการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับสถานการณ์เฉพาะอย่างเกิดขึ้น คือ
1.มุ่งให้ความสำคัญต่อสภาพแวดล้อมองค์การ
2.ยอมรับหลักการต่าง ๆ ที่เป็นสากลควบคู่กับการมององค์การแต่ละองค์การมีลักษณะพิเศษเฉพาะ
3.มุ่งแสวงหาความเข้าใจของความสัมพันธ์ที่ขึ้นอยู่ระหว่างกับระบบย่อยต่าง ๆ ภายในองค์การตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับสภาพแวดล้อมภายนอก
4.ยอมรับว่าสภาพแวดล้อมภายนอกและระบบย่อยภายในต่าง ๆ ของแต่ละองค์การค่อนข้างมีลักษณะพิเศษอย่าง
จะเห็นว่าแนวคิดนี้มีความเข้าใจว่า ไม่มีแนวทางของการบริหารหรือทฤษฎีการบริหารใดที่ดีทีสุดเพียงแนวทางเดียว ที่จะใช้ได้กับองค์การทุกรูปแบบ การบริหารจะมีประสิทธิภาพย่อมขึ้นอยู่กับความสามารถประยุกต์และเลือกใช้วิธีการอย่างเหมาะสมตามแต่สถานการณ์ที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษารูปแบบหรือแนวความคิดทางการจัดการ
ในการศึกษารูปแบบหรือทฤษฎีทางด้านการจัดการนั้น มีหลักเกณฑ์หรือทฤษฎีที่จะต้องศึกษาหลายรูปแบบด้วยกัน รูปแบบต่าง ๆ ของการจัดการเหล่านั้นจะต้องมีการนำเอาทฤษฎีทางด้านการจัดการรวมทั้งเหตุการณ์หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมาวิเคราะห์และมีการพัฒนาปรับปรุงทฤษฎีกันต่อ ๆ มา
ในการศึกษารูปแบบทางการจัดการสามารถวิเคราะห์เป็นกลุ่มได้หลายอย่างด้วยกัน คือ
1. วิธีการศึกษาในรูปของกรณีศึกษาหรือจากการสังเกต (The Empirical or Case Approach) การศึกษาทางการจัดการแบบนี้เป็นการวิเคราะห์หรือศึกษาการจัดการโดยอาศัยประสบการณ์แล้วมาวิเคราะห์ การศึกษาการจัดการโดยวิธีนี้เป็นที่เชื่อว่าเป็นการศึกษาจากความสำเร็จหรือความผิดพลาดของงานบริหารเฉพาะกรณีไป และผู้ศึกษาจะต้องพยายามศึกษาจากปัญหาที่ระบุเอาไว้อย่างเด่นชัดและสถานการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้นักการจัดการสามารถศึกษาและวิเคราะห์แนวความคิดทางการจัดการได้
2. วิธีการศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์ (The Interpersonal Behavior Approach) การศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์เป็นวิธีการอย่างหนึ่ง เพราะในการศึกษาทางด้านการจัดการเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การ สภาวะการณ์การเป็นผู้นำ
3. วิธีการศึกษาการตัดสินใน (Decisional Approach) เป็นวิธีการศึกษาทางการจัดการที่นำเอาข้อมูลหรือการวิเคราะห์เชิงปริมาณเข้ามาใช้ประกอบการตัดสินใจ
4. วิธีการศึกษาโดยวิธีการเชิงระบบ (System Approach) คำว่า ระบบ หมายถึงส่วนต่าง ๆ จำนวนหนึ่งที่มีผลกระทบต่อกันและมีส่วนเชื่อมโยงกันเพื่อที่จะทำให้งานขององค์การบรรลุเป้าหมายที่องค์การต้องการได้
5. วิธีการศึกษาแบบวิธีการปรับตัว (Adaptive of Ecological Approch) เป็นระบบเปิดจะต้องวิเคราะห์โดยการศึกษาสภาวะแวดล้อมภายในองค์การกับสภาวะแวดล้อมภายนอกองค์การควบคู่กันไปด้วย
อ้างอิง : ฟาร์อีสเทอร์น. ( 2547) วิวัฒนาการของแนวคิดทางการจัดการ.
นางสาวสายฝน โป่งมะณี รหัส 5210125401003 เอกการจัดการทั่วไป ปี4
การวิเคราะห์ปัญหาสภาพแวดล้อมภายในภายนอก
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ ประกอบด้วยปัจจัยซึ่งอาจแยกให้เห็นความแตกต่างเป็น 2 ระดับคือ 1. สภาพแวดล้อมทั่วไป ที่มีผลโดยตรงต่อธุรกิจ ประกอบด้วยอิทธิพลทางการเมือง อิทธิพลทางเศรษกิจ อิทธิพลทางเทคโนโลยี อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม และอิทธิพลจากต่างประเทศ
2.สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน ประกอบด้วยลูกค้าคู่แข่งขัน ผู้ขายวัตถุดิบ แรงงาน กฎระเบียบ และหุ้นส่วน โดยที่สภาพแวดล้อมในการดำเนินงานจะมีอิทธิพลต่อองค์การธุรกิจโดยตรงมากกว่าที่สภาพแวดล้อมทั่วไป
สภาพแวดล้อมภายในองค์การ
สภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน แตกต่างจากสภาพแวดล้อมทั่วไปในแง่ที่ว่าสภาพแวดล้อมทั่วไปจะมีอิทธิพลทั่วๆ ไปต่อองค์การ แต่ละสภาพแวดล้อมในการดำเนินงานจะมีอิทธิพลโดยตรงต่อองค์การและความสำเร็จขององค์การมากกว่า
โดยสภาพแวดล้อมในการดำเนินการที่สำคัญมี 6 ประการคือ 1.ลูกค้า คือปัจจัยหลักที่มีความสำคัญในสภาพแวดล้อมในการดำเนินงาน
2.คู่แข่งขัน คือที่อยุ่ในองค์การอื่นที่เสนอสินค้าหหรือบริการให้แก่ลูกค้ากลุ่มเดียวกันหรือใช้แหล่งผลิตที่เป็นจำพวกเดียวกันกับกิจการที่ใช้อยู่
3.ผู้ขายวัตถุดิบ เป็นบุคคลหรือองค์การผู้นำส่งทรัพยากรสำหรับป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิต
4.แรงงาน คือผู้ที่มีความพร้อมจะให้ว่าจ้างไปทำงาน
5.กฎระเบียบ แนวทางควบคุมทางกฎหมายหรือนโยบายที่มีผลต่อกิจกรรมของงองค์การ อันมีผลทันทีต่อการดำเนินการขององค์การ
6.หุ้นส่วน องค์การที่ดำเนินธุรกิจร่วมกันไม่ว่าจะเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ ส่งเสริมซึ่งกันและกันให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อ้างอิง ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ , การจัดการเขิงกลยุทธ์ , 2552
นางสาว อลิตา ธนาพีรัชต์ชัย รหัส 062 สาขา การจัดการทั่วไป
ทฤษฎีการบริหาร (Management Theory)
1. การศึกษาการบริหารแบบคลาสสิค
-การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์
-การจัดการตามระบบราชการ
-การจัดการตามแบบหลักการบริหาร
2. การศึกษาการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
-ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
-ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
3. การศึกษาการจัดการเชิงปริมาณ
-การจัดการปฏิบัติการ
-ระบบข้อมูลการจัดการ
4. กลุ่มทฤษฎีการบริการ
-ทฤษฎีระบบ
-ทฤษฎีจัดการเชิงสถานการณ์
-ทฤษฎี Z ของ Ouchi- TQM
ทฤษฎีการศึกษาการบริหารแบบคลาสสิค
การศึกษาการบริหารโดยทฤษฎีกลุ่มนี้ เป็นทฤษฎีที่มุ่งเน้นองค์การโดยรวมและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลทฤษฎีการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific management)Frederick W. Taylor (1856-1915)เทย์เลอร์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ ปรัชญาการบริหารของเทย์เลอร์ได้แก่
1.ทำการศึกษางานแต่ละส่วนด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการทำงานแต่ละอย่าง
2.ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือกและการฝึกอบรมพนักงานและมอบหมายความรับผิดชอบให้ทำงานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับแต่ละคน
3.มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้บริหารและพนักงาน
4.แบ่งงานและความรับผิดชอบในงานเป็นส่วนต่าง ๆเทย์เลอร์ได้พัฒนาวิธีการจ่ายค่าจ้างต่อหน่วยแบบสองระดับ(Different rate system) ขึ้นมา
ทฤษฎีการศึกษาการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
การบริหารเชิงพฤติกรรม จะมุ่งการเพิ่มประสิทธิภาพโดยการทำความเข้าใจมนุษย์ถ้าผู้บริหารได้เข้าใจพฤติกรรมของบุคคลและปรับองค์การให้สอดคล้องกับพวกเขาแล้วความสำเร็จขององค์การก็จะตามมาเองการศึกษาทางจิตวิทยาอุตสาหกรรม(Industrial psychology approach)ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) หรือทฤษฎีการจูงใจของ มาสโลว์(Maslow's theory of motivation)Abraham Maslow (1908-1970)มาสโลว์ เป็นนักจิตวิทยาผู้เสนอแนวความคิดว่าบุคคลได้รับการกระตุ้นโดยความต้องการและจะกระทำเพื่อให้ได้รับการตอบสนองความต้องการตามลำดับขั้นทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) ได้แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้นตามลำดับ
ทฤษฎีจัดการเชิงสถานการณ์(Contingency theory)การบริหารจัดการเชิงสถานการณ์ จะมุ่งเน้นการปรับปรุงพฤติกรรมทางการบริหารให้เข้ากับสถานการณ์ขององค์การความสำเร็จหลักของการบริหารจะถูกกำหนดโดยสถานการณ์ไม่มีกลยุทธ์การบริหารอย่างเดียวที่สามารถใช้ได้กับสถานการณ์ทุกอย่างTQM : Total Quality ManagementTQM เป็นกลยุทธ์ขององค์การอย่างหนึ่งที่ส่งมอบผลิตภัณฑ์และ/หรือบริการที่มีคุณภาพให้แก่ลูกค้าการบริหารคุณภาพโดยรวมของ TQM จะมุ่งที่ลูกค้าอย่างแรงกล้าการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องนี้ถือว่าเป็นกระบวนการที่ไม่จบสิ้น จะมีการทำงานเป็นวงจร ที่เรียกว่า"วงจร เดมิ่ง" คือ วงจรของการวางแผน-ปฏิบัติ-ตรวจสอบ-แก้ไข (Plan-Do-Check-Action : PDCA)
นางสาวอลิตา ธนาพีรัชต์ชัย รหัส 062การจัดการทั่วไป
ทฤษฎีการบริหาร มีแนวคิดได้ดังนี้
1.การศึกษาการบริหารแบบคลาสสิค
-การจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์
-การจัดการตามระบบราชการ
-การจัดการตามแบบหลักการบริหาร
2.การศึกษาการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์
-ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ
-ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
3. การศึกษาการจัดการเชิงปริมาณ
-การจัดการปฏิบัติการ
-ระบบข้อมูลการจัดการ
4.กลุ่มทฤษฎีการบริการ ที่เพิ่งได้รับการพัฒนาขึ้นมาในระยะหลังๆ
-ทฤษฎีระบบ
-ทฤษฎีจัดการเชิงสถานการณ์
-ทฤษฎี Z ของ Ouchi- TQM
* ทฤษฎีการศึกษาการบริหารแบบคลาสสิค
การศึกษาการบริหารโดยทฤษฎีกลุ่มนี้ เป็นทฤษฎีที่มุ่งเน้นองค์การโดยรวมและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลทฤษฎีการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ (Scientific management)Frederick W. Taylor (1856-1915)เทย์เลอร์ ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ ปรัชญาการบริหารของเทย์เลอร์ได้แก่
1.ทำการศึกษางานแต่ละส่วนด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์และพัฒนาวิธีการที่ดีที่สุดสำหรับการทำงานแต่ละอย่าง
2.ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการคัดเลือกและการฝึกอบรมพนักงานและมอบหมายความรับผิดชอบให้ทำงานที่เหมาะสมที่สุดสำหรับแต่ละคน
3.มีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้บริหารและพนักงาน
4.แบ่งงานและความรับผิดชอบในงานเป็นส่วนต่าง ๆเทย์เลอร์ได้พัฒนาวิธีการจ่ายค่าจ้างต่อหน่วยแบบสองระดับ(Different rate system) ขึ้นมา
*ทฤษฎีการศึกษาการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์(Behavioral management approach)การบริหารเชิงพฤติกรรม จะมุ่งการเพิ่มประสิทธิภาพโดยการทำความเข้าใจมนุษย์ถ้าผู้บริหารได้เข้าใจพฤติกรรมของบุคคลและปรับองค์การให้สอดคล้องกับพวกเขาแล้วความสำเร็จขององค์การก็จะตามมาเองการศึกษาทางจิตวิทยาอุตสาหกรรม(Industrial psychology approach)ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) หรือทฤษฎีการจูงใจของ มาสโลว์(Maslow's theory of motivation)Abraham Maslow (1908-1970)มาสโลว์ เป็นนักจิตวิทยาผู้เสนอแนวความคิดว่าบุคคลได้รับการกระตุ้นโดยความต้องการและจะกระทำเพื่อให้ได้รับการตอบสนองความต้องการตามลำดับขั้นทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) ได้แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้นตามลำดับทฤษฎี X(Theory X) เป็นปรัชญาการบริการจัดการแบบดั้งเดิม โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้าน ไม่กระตือรือร้นไม่ชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงานทฤษฎี Y(Theory Y) เป็นปรัชญาการบริการจัดการ โดยมองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทำงานและไม่มีความเบื่อหน่ายในการทำงานแมคเกรเกอร์ ได้เรียกร้องให้ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงมุมมองมนุษย์จากมุมมองตามทฤษฎี X ไปเป็นมุมมองตามทฤษฎีY
*การศึกษาการจัดการเชิงปริมาณ(The quantitative management approach)เป็นทัศนะการจัดการซึ่งนำเทคนิคทางคณิตศาสตร์ เครื่องมือสถิติและข้อมูลมาเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาทางการบริหารจัดการศาสตร์การจัดการ(Management science) หรือการวิจัยการปฏิบัติการ(Operation research)เป็นทัศนะการบริหารเชิงปริมาณซึ่งประยุกต์ใช้โมคณิตศาสตร์ในการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆผู้ตัดสินใจจะใช้หลักเกณฑ์เชิงปริมาณในการเลือกระหว่างทางเลือกต่าง ๆ ที่มีอยู่ โดยเฉพาะในการวางแผนการจัดการปฏิบัติการ(Operations management)เป็นการบริหารซึ่งใช้เทคนิคเชิงปริมาณเพื่อปรับปรุงผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าและบริการเช่น การจัดการสินค้าคงเหลือ (Inventory management)เพื่อปรับปรุงการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดจำหน่ายสินค้าและบริการระบบข้อมูลการจัดการ(Management System : MIS)เป็นการบริหารจัดการที่มุ่งการเก็บรวบรวมข้อมูล และการส่งข้อมูล เพื่อสนับสนุนหน้าที่การจัดการ เช่นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
น.ส.ภาณีนุช ปิยภานีกุล รหัส 5210125401014 เอกการจัดการทั่วไป ปี4 หมู่1
ทฤษฎีความยุติธรรม (Equity theory) เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิจารณญาณของบุคคลกับความยุติธรรมของรางวัล โดยเปรียบเทียบกับปัจจัยนำเข้า (ประกอบด้วยหลายปัจจัย เช่น ความพยายาม ประสบการณ์ การศึกษา และรางวัล) J. Stacy Adams เป็นผู้กำหนดทฤษฎีความยุติธรรม ลักษณะสำคัญของทฤษฎียุติธรรม ดังสมการ
ผลลัพธ์ของบุคคลหนึ่ง ผลลัพธ์ของอีกบุคคลหนึ่ง
___________________ = ________________________
ปัจจัยนำเข้าของบุคคลหนึ่ง ปัจจัยนำเข้าของอีกบุคคลหนึ่ง
จะต้องมีความสมดุลของความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ต่อปัจจัยนำเข้าของบุคคลหนึ่ง โดยเปรียบเทียบกับอีกบุคคลหนึ่ง ดังนี้
1.ถ้าบุคคลรู้สึกว่าเขาได้รับรางวัลที่ไม่เท่าเทียมกัน เขาจะไม่พอใจ จะลดปริมาณหรือคุณภาพของผลผลิต
2.ถ้าบุคคลได้รับรางวัลเท่าเทียมกัน เขาจะทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิตในระดับเดิมต่อไป
3.ถ้าบุคคลคิดว่ารางวัลสูงกว่าสิ่งที่เป็นความยุติธรรม เขาจะทำงานมากขึ้น
ดังนั้นเป็นทางเลือกที่ว่าบางคนอาจจะลดรางวัล สถานการจาก 3ประการ ได้แก่ ความสมดุลและความไม่สมดุลของรางวัล
1.รางวัลที่ไม่ยุติธรรม (ความไม่พึงพอใจผลผลิตลดลง)
2.รางวัลที่ยุติธรรม (ความต่อเนื่องกันในระดับผลผลิตเดียวกัน)
3.เหนือกว่ารางวัลที่ยุติธรรม (งานหนักขึ้นรางวัลลดลง)
ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ บุคคลจะคาดคะเนผลประโยชน์ของตนเกินจริง และคาดหวังรายได้รางวัลที่ได้รับเกินจริง ความไม่เท่าเทียมกันอาจจะมีเป็นบางครั้งสำหรับพนักงาน ความรู้สึกของความไม่เท่าเทียมกันจะมีผลต่อปฎิกิริยาบางประการ ตัวอย่าง พนักงานอาจจะโกรธหรือตัดสินใจทิ้งงานเพราะเกิดความรู้สึกว่า รางวัลที่ได้ไม่ยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรางวัลของบุคคลอื่น
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ, 2542.
น.ส.ภาณีนุช ปิยภานีกุล รหัส 5210125401014 เอกการจัดการทั่วไป ปี4 หมู่1
ทฤษฎีความยุติธรรม (Equity theory) เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิจารณญาณของบุคคลกับความยุติธรรมของรางวัล โดยเปรียบเทียบกับปัจจัยนำเข้า (ประกอบด้วยหลายปัจจัย เช่น ความพยายาม ประสบการณ์ การศึกษา และรางวัล) J. Stacy Adams เป็นผู้กำหนดทฤษฎีความยุติธรรม ลักษณะสำคัญของทฤษฎียุติธรรม ดังสมการ
ผลลัพธ์ของบุคคลหนึ่ง ผลลัพธ์ของอีกบุคคลหนึ่ง
___________________ = ________________________
ปัจจัยนำเข้าของบุคคลหนึ่ง ปัจจัยนำเข้าของอีกบุคคลหนึ่ง
จะต้องมีความสมดุลของความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ต่อปัจจัยนำเข้าของบุคคลหนึ่ง โดยเปรียบเทียบกับอีกบุคคลหนึ่ง ดังนี้
1.ถ้าบุคคลรู้สึกว่าเขาได้รับรางวัลที่ไม่เท่าเทียมกัน เขาจะไม่พอใจ จะลดปริมาณหรือคุณภาพของผลผลิต
2.ถ้าบุคคลได้รับรางวัลเท่าเทียมกัน เขาจะทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิตในระดับเดิมต่อไป
3.ถ้าบุคคลคิดว่ารางวัลสูงกว่าสิ่งที่เป็นความยุติธรรม เขาจะทำงานมากขึ้น
ดังนั้นเป็นทางเลือกที่ว่าบางคนอาจจะลดรางวัล สถานการจาก 3ประการ ได้แก่ ความสมดุลและความไม่สมดุลของรางวัล
1.รางวัลที่ไม่ยุติธรรม (ความไม่พึงพอใจผลผลิตลดลง)
2.รางวัลที่ยุติธรรม (ความต่อเนื่องกันในระดับผลผลิตเดียวกัน)
3.เหนือกว่ารางวัลที่ยุติธรรม (งานหนักขึ้นรางวัลลดลง)
ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ บุคคลจะคาดคะเนผลประโยชน์ของตนเกินจริง และคาดหวังรายได้รางวัลที่ได้รับเกินจริง ความไม่เท่าเทียมกันอาจจะมีเป็นบางครั้งสำหรับพนักงาน ความรู้สึกของความไม่เท่าเทียมกันจะมีผลต่อปฎิกิริยาบางประการ ตัวอย่าง พนักงานอาจจะโกรธหรือตัดสินใจทิ้งงานเพราะเกิดความรู้สึกว่า รางวัลที่ได้ไม่ยุติธรรมเมื่อเปรียบเทียบกับรางวัลของบุคคลอื่น
อ้างอิง : ศิริวรรณ เสรีรัตน์. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ, 2542.
แสดงความคิดเห็น