หน้าเว็บ

วันอาทิตย์ 1 กค 55




250 รัตน์ Henri Fayal แนวคิด การแบ่งหน้าที่ในการทำงาน การจัดการแรงงานในองค์กร ที่ประเทศฝรั่งเศส ข้อเสีย เป็นการจัดองค์กรแบบรวมอำนาจ

235 หนิง Henri ในส่วนที่ล้าสมัย การชี้นำ เป็นแบบมีเป้าหมาย ถ้าเป็นสมัยใหม่ จะชี้นำโดยอาศัยวิสัยทัศน์ แบบเก่า จะมองในเรื่องของต้นทุน ของราคา แต่ถ้าเป็นสมัยใหม่จะมองในแง่คุณภาพด้วย

205 ผึ้ง ท. องค์การสมัยใหม่ Henri L. Tosi ให้ความสำคัญกับความรู้สึกของบุคคล ยอมรับอิทธิพลของสังคมที่มีผลกระทบต่อการทำงาน

251 อั๊ม ท. เกี่ยวกับนักบริหารส่วนใหญ่ แบ่งเป็น 4 ประเภท

การจัดการแบบเดิม เช่น การตัดสินใจ การวางแผน การควบคุม

การติดต่อสื่อสาร เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลประจำวัน และการทำงานเอกสาร

การจัดการด้านทรัพยากรบุคคล เช่น การจูงใจ การสร้างวินัย การจัดการความขัดแย้ง

การสร้างเครือข่าย เช่น การเข้าสังคม การเล่นการเมืองในองค์การ

231 ซะ เพิ่ม เรื่องของการบริหารจัดการ

การบริหารจัดการ

การบริหารการพัฒนา

การบริหารการบริการ

แนวทางในการบริหารแบบภาครัฐ

ขบวนการและการบริหาร

จุดหมายปลายทาง การบริหารประเทศ และ คุณภาพชีวิต ความก้าวหน้าของประเทศ

ภาคเอกชน มุ่งหวังผลกำไร การแข่งขัน

ภาครัฐ มองในเรื่องการให้บริการประชาชน

213 ตาม ลักษณะของการบริหารจัดการ

ผู้นำ หรือ หัวหน้างาน ความหมาย ภาระหน้าที่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นผู้นำในองค์การ

ภารกิจ หรือ สิ่งที่ต้องทำ ความหมาย การจัดระเบียบ การจัดทรัพยากรต่างๆ ในองค์กร

ความรับผิดชอบ ความหมาย การที่จะต้องทำงานให้เสร็จ ลุล่วงด้วยดี ด้วยการอาศัยบุคคลต่างๆ เข้าด้วยกัน

การบริหาร การจัดการ เป็นการใช้ศาสตร์ และศิลป ให้บรรลุวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพ

219 จิ๊บ Frederick W. Taylor งานบริหารทุกอย่างต้องทำอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้มีวิธีที่ดีที่สุด ในการทำงาน

204 เอ๋ ท. ของ Frederick W. Taylor มุ่งเน้นองค์กรโดยรวม ทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ โดยการคัดเลือก ฝึกอบรม มอบหมาย มีการประสาน ติดต่อกันระหว่างผู้บริหารกับพนักงาน มีการพัฒนาวิธีการจ่ายค่าตอบแทน แบบตามชิ้นงาน

215 เพลิน การจัดการในยุคโลกาภิวัฒน์ เน้น เรื่องการแข่งขัน ใช้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ผู้บริหารจะให้ความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการดำเนินงาน และการได้เปรียบในเชิงแข่งขัน

การควบคุมคุณภาพ

การควบคุมคุณภาพโดยรวม

การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

การรื้อปรับระบบ

383 เรียนร่วม บูน Frederick W. Taylor เป็นบิดาแห่งการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (แนวคิด เริ่มหลังสงครามโลกครั้งที่ สอง เน้น เกี่ยวกับองค์กรโดยรวม นิยามการจัดการ ว่า องค์กรไม่ใช่แค่ธุรกิจ แต่ละองค์กรจะต่างกัน ที่วิธีการเท่านั้น ก่อนสงครามโลก จะเป็นการผลิต แบบการทำเกษตรกรรม แต่หลังจากนั้น จะเป็นการผลิตแบบอุตสาหกรรม เน้นการจัดการแบบที่มีหลักเกณฑ์ แนวความคิดทางการจัดการเป็น 3 แนวทาง

การจัดการที่มีหลักเกณฑ์

แนวคิดการแบบแนวมนุษยสัมพันธ์

การจัดการแนวใหม่ การจัดการตัดสินใจ การจัดการตามสถานการณ์ การจัดการเชิงระบบ และเชิงกระบวนการ การจัดการเชิงปริมาณ

211 ปอ เชิงพฤติกรรมศาสตร์ Abraham H. Maslow

ท. ความต้องการ 5 ขั้น เป็น ท. เกี่ยวกับแรงจูงใจ

222 ปุ๋ย แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ Gouglas Mcgregor

ท. x & Y

ท. เอ็กซ์ มนุษยมีความขี้เกียจ ไม่ชอบทำงาน ต้องบังคับ ต้องลงโทษ ต้องจูงใจด้วยเงิน แต่ว่า เขาไม่เห็นด้วย จึงเสนอแนวคิดท. วาย

มองว่ามนุษย์เป็นคนดี มีความรับผิดชอบ รักการทำงาน สิ่งที่จะจูงใจได้ดี ไม่ใช่เงินเพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กับการยอมรับของกลุ่ม

247 บี แนวความคิดการค้นหาความเป็นเลิศขององค์การ Peters and Waterman

ต้องมีการค้นหาลักษณะเด่น ขององค์การมี 8 ประการ

มุ่งเน้นที่การกระทำ



ให้อยู่ใกล้ชิดกับบุคคลากร เพื่อค้นหาปัญหา และสาเหตุ

ให้การส่งเสริมความเป็นอิสระ เน้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

เพิ่มประสิทธิภาพ และอาศัยศักยภาพ ของบุคคลากร

เข้าไปสัมผัส และมุ่งเน้นให้เกิดค่านิยมในองค์กร

การดำเนินธุรกิจจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญ

มีการสร้างโครงสร้าง ขององค์กร เพื่อจัดแบ่งระดับความรับผิดชอบ

ควรจะมีความเข้มงวดและผ่อนปรนในเวลาเดียวกัน

248 ตู่ แนวคิดท. การบริหารคนของ Fayol

การวางคนให้เหมาะสมกับโครงสร้างขององค์กร

ยอมรับผู้บริหารการเป็นผู้บริหารระดับสูง

ปฏิบัติตามผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว

ใช้เจ้าหน้าที่และผู้ให้คำปรึกษาเฉพาะด้านและทั่วไป

การจัดแผนกงานตามความมุ่งหมาย กระบวนการ และ สถานที่

มอบหมายงานและใช้ประโยชน์จากหลักของข้อแตกต่างกัน

กำหนดขนาดและการควบคุมงานที่เหมาะสม

212 แอน แนวคิดการบริหารระบบราชการของ Max Weber

โครงสร้างขององค์กรจะถูกแบ่งเป็นส่วนๆ แบ่งงานกันทำเฉพาะด้าน ตามความถนัด และจัดระดับชั้นการทำงานอย่างชัดเจน และขจัดความไม่แน่นอน ในการทำงาน การเลื่อนขั้น พิจารณาตามหลักอาวุโส และความสำเร็จ

225 บอย James Mill

ท. เกี่ยวกับการศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญในการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของมนุษย์

220 ทุเรียน William G. Stott แบ่งวิวัฒนาการทางการจัดการ

การคิดค้นและกำหนดวิธีที่ดีที่สุดสำหรับงานที่ทำแต่ละอย่าง

ต้องมีการคัดเลือกและพัฒนาคนงาน จัดงานให้เหมาะสมกับบุคคล

ต้องมีวิธีการพิจารณาอย่างรอบคอบเกี่ยวกับวิธีการทำงานและคนงาน

ต้องมีการประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่าง ผู้บริหารและคนงาน

216 เบีย การบริหารตามสถานการณ์ Fred E. Fiedler

การบริหารต้องยึดตามสถานการณ์ และคิดตามสถานการณ์นั้นๆ ภายใต้สถานการณ์นั้นๆ ผู้บริหารจะใช้เทคนิคอะไรได้บ้าง

เน้นความแตกต่างของแต่ละหน่วยงาน และ บุคคลในองค์การ

226 กุ๊ก แนวความคิดการจัดการเชิงระบบ

Norbert Wiener เป็นการนำเอาความคิดเกี่ยวกับระบบมาประยุกต์ใช้ ต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบก่อน ระบบมีสองชนิด

ระบบปิด และ ระบบเปิด

องค์การ ถือว่าเป็นระบบเปิด ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมต่างๆ เช่น กฎหมาย เศรษฐกิจ และความสำเร็จขององค์การ ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เหล่านี้

233 โบ๊ต Gulick Luther & Eyneall F. urwick ท. เกี่ยวกับโครงสร้างการจัดองค์กร เน้นการแบ่งงานกันทำ การประสานงาน บุคลากร สถานที่ หน่วยช่วยการอำนวยการที่จะช่วยกับหน่วยงานหลัก

244 วัต บทบาทระหว่างบุคคล Mintzberg บทบาทด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

บทบาทตามตำแหน่ง

บทบาทของผู้นำ

บทบาทสร้างสัมพันธภาพ สร้างเครือข่าย

218 ปุ้ย แนวคิดแบ่งเป็น 3 ยุค

ยุค คลาสสิค แบ่งหน้าที่กันทำงาน มุ่งความชำนาญเฉพาะด้าน ระบบคุณธรรม ควบคุมโดยการออกกฎระเบียบ

ยุคการจัดการเชิงพฤติกรรมศาสตร์ เน้นศึกษาโครงสร้างขององค์การทำให้มองว่าคนไม่ต่างจากเครื่องจักร ดังนั้นในยุคนี้จะเน้นการจูงใจ

ยุคการจัดการสมัยใหม่ เน้นให้ความสำคัญเกี่ยวกับคน และมีโครงสร้างแบบไม่เป็นทางการ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างคนในองค์กร

227 มีน แนวคิดการจัดการตามแนวมนุษยสัมพันธ์ นักจิตวิทยา Elton Mayo ธรรมชาติของมนุษย์ มีสองแบบ

พฤติกรรมเป็นไปตามเหตุผล

พฤติกรรมเป็นไปตามอารมณ์

240 บาส ท. สองปัจจัยของ Frederick Herzberg

ปัจจัยรักษา หรือ ปัจจัยสุขอนามัย ได้แก่ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ถ้าไม่เหมาะสม จะทำให้บุคคลไม่พอใจในการทำงาน แต่ไม่ใช่ปัจจัยส่งเสริมให้คนทำงานอย่างมีผลผลิตเพิ่มขึ้น

ปัจจัยการจูงใจ มีอิทธิพลต่อการสร้างแรงจูงใจและทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ได้แก่ การได้รับการยกย่อง การได้รับความรับผิดชอบ ความก้าวหน้า











13 ความคิดเห็น:

Unknown กล่าวว่า...
ความคิดเห็นนี้ถูกลบโดยผู้ดูแลระบบของบล็อก
porviiii กล่าวว่า...

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง รหัส 059 การจัดการทั่วไป ปี4

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง รหัส059 การจัดการทั่วไป ปี4

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059

Ditthita กล่าวว่า...

ทฤษฎีองค์การก่อนสมัยวิทยาการการจัดการ
โสเครตีส (Socrates) เป็นนักปรัชญาการเมืองซึ่งไม่ปรากฏผลงานเขียนด้วยตนเอง แต่ความคิดเห็นของโสเครติสได้ปรากฏอยู่ในงานเขียนของเพลโต (Plato) เช่นเรื่อง The Republic ซึ่งกล่าวถึงหลังการขององค์การสังคมว่า จะต้องมีการแบ่งงานกันทำ และมีการทำงานตามความสามารถของแต่ละบุคคลในองค์การทางสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากปัจเจกชนมีความต้องการหลายประการและไม่สามารถจะสนองความต้องการทุกๆอย่างของตนเองได้ จึงต้องให้ผู้อื่นที่ทำดีกว่าตนช่วยทำให้ ซึ่งตนก็จะสามารถมีสิ่งที่ตนต้องการได้อย่างครบถ้วน เช่น อาหาร เสื้อผ้า รองเท้า เป็นต้น
ในช่วงเวลาต่อมาเพลโตก็ได้ยืนยันแนวความคิดของโสเครตีสในเรื่องการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญของบุคคลแต่ละประเภท โดยเน้นให้เห็นว่าองค์การเป็นระบบของการให้บริการ ซึ่งสมาชิกในองค์การทุกคนจะต้องมีทั้งการให้และการรับ โดยแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน ภายใต้หลักเกณฑ์พื้นฐานที่สำคัญคือ มีการแบ่งงานกันทำ และการทำงานตามความชำนาญ ซึ่งจะช่วยให้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังได้คุณภาพดีด้วย นอกจากนี้เพลโตยังได้เสนอแนวความคิดในการแบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่ม คือ ทาสทำงานด้านเกษตรกรรม ชนชั้นอิสระซึ่งไม่ใช่พลเมืองทำงานด้านการค้าและอุตสาหกรรม และบุคคลที่เป็นพลเมือง ให้เป็นผู้รับผิดชอบทำงานเกี่ยวกับการเมืองทั้งหมดของสังคม
และการจัดระเบียบขององค์กรในยุคนั้นคือจะช่วยให้มนุษย์เป็นคนดีได้จำเป็นจะต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- มีการแบ่งงานกันทำ (Division of Labour)
- มีการแบ่งงานกันทำตามความรู้ความชำนาญ (Specialization)
- ใช้หลักการแห่งอำนาจ (Authority) ในการกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร
- ใช้หลักประสานความร่วมมือกัน (Co-operation) ของคนในองค์กร
- มีการอำนวยการ (Direction) โดยผู้ออกกฎข้อบังคับ
- หลักการเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คือการมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
- มีสภาวะของผู้นำ (Leadership)
- มีสายการบังคับบัญชาของอำนาจ (Hierarchical Authority)
โดย รศ.ดร.สมิหรา จิตตลดากร พิมพ์ครั้งที่ 3 จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์คงวุฒิคุณากร พิมพ์ที่ แสงเทียนการพิมพ์
หน้า 53-58
นางสาวฑิตฐิตา มีชูแสง การจัดการทั่วไป ปี4 รหัส 059