น.ส. สุดา หวังสะมาแอล 5231935401207
กลูต้าไธโอน
ลักษณะของกลูต้าไธโอน
กลูต้าไธโอนเป็นสารต้านอนุมูลอิสระภายในเซลล์พบมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเซลล์ตับ (จนถึง 5 mM)
กลูต้าไธโอนถูกสังเคราะห์โดย Glutathione synthase โดยการใช้กรดอะมิโน 3 ชนิด : L-cysteine, L-glutamate และ glycine
ตามธรรมชาติมี 2 รูปแบบ ได้แก่ reduced Glutathione (GSH) และ oxidized Glutathione disulphide (GSSG)
อำนวยความสะดวกต่อการทำงานของภูมิคุ้มกัน
เป็นสาร mitochondrial antioxidant
การลดลงของกลูต้าไธโอน
แสดงให้เห็นเด่นชัดอย่างเฉียบพลันในการขาดกลูต้าไธโอนเมื่อรับประทานยาพาราเซตามอลเกินขนาด
ผลของการลดลงของกลูต้านี้เกิดใน hepatocyte ชักนำให้ตับวายและเสียชีวิตได้
การขาดกลูต้าไธโอนเรื้อรังมีความสัมพันธ์กับความผิดปกติทางภูมิคุ้มกัน เพิ่มการเกิดเนื้อร้าย และในกรณีโรคเอดส์ อาจเร่งให้เกิดโรคขึ้นมาได้
ข้อบ่งใช้และการใช้ประโยชน์
รักษาพิษจากยาพาราเซตามอล
ใช้เบื้องต้นสำหรับ : มะเร็งบางชนิด โรคไขมันอุดตันที่ผนังหลอดเลือด (atherosclerosis) โรคเบาหวาน ปอดมีความผิดปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคปอดอุดกั้น สูญเสียการได้ยินเนื่องมาจากเสียง ผู้ชายที่เป็นหมัน ป้องกันหรือทำให้พิษดีขึ้น ต้านเชื้อไวรัส ยากำพร้าในการรักษาเอดส์ที่สัมพันธ์กับภาวะขาดสารอาหาร
ผลข้างเคียง
ผิวหนังแดง
ความดันโลหิตต่ำ
หอบหืดเฉียบพลัน
อาจเกิด anaphylactic reaction จากการปนเปื้อนหรือความไม่บริสุทธิ์
ข้อห้ามและควรระวังเป็นพิเศษ
ผู้ที่แพ้ยาฉีดกลูต้าไธโอน
ผู้ที่ปลูกถ่ายอวัยวะ
แพ้, หอบหืด
สารที่ทำให้ขาดกลูต้าไธโอน
การสูบบุหรี่
ดื่มแอลกอฮอล์
คาเฟอีน
ยาพาราเซตามอล
ยา
ออกกำลังกายหนัก
รังสี X Y และยูวี
Xenobiotics
Estradiol
อ้างอิงจาก : www.glutacare.com
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น